dc.contributor.advisor |
วิทวัส แจ้งเอี่ยม |
|
dc.contributor.author |
ธนวัฒน์ ราชภิรมย์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-06T04:25:46Z |
|
dc.date.available |
2023-06-06T04:25:46Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8857 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
Bacillus siamensis เป็นจุลินทรีย์ที่สามารถผลิตเอนไซม์ลีแวนซูเครส (Levansucrase) ซึ่งมีความสามารถในการย่อยสลายซูโครสผ่านกระบวนการไฮโดรไลซิส (Hydrolysis) และทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อโมเลกุลผ่านกระบวนการทรานส์ฟรุกโตซิลเลชัน (Transfructosylation) เกิดเป็นสารลีแวน (Levan) ซึ่งเป็นสารประเภทพอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide) งานวิจัยนี้จึงศึกษา การทำบริสุทธิ์เอนไซม์จากจุลินทรีย์ Bacillus siamensis และศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตสารลีแวนด้วยเอนไซม์ลีแวนซูเครสที่ความเข้มข้นของซูโครส ความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของฟอตเฟสบัฟเฟอร์และอะซิเตทบัฟเฟอร์และอุณหภูมิพบว่า มีโปรตีนทั้งหมด 5 ชนิด หลังจากทำเอนไซม์บริสุทธิ์และสามารถเพิ่มความบริสุทธิ์ของลีแวนซูเครสได้ 11.47และสามารถเก็บเกี่ยวเอนไซม์ได้ร้อยละ78.75 ซึ่งมีกิจกรรมจำเพาะของเอนไซม์เท่ากับ 15.95 IU/mg ซึ่งสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตลีแวนเท่ากับความเข้มข้นซูโครส 20% (w/v) pH 6ของฟอตเฟสบัฟเฟอร์ อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง ซึ่งเป็นสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตลีแวน โดยที่สภาวะของฟอตเฟตบัฟเฟอร์และอะซิเตทบัฟเฟอร์ไม่มีผลแตกต่างอย่าง มีนัยสำคัญ โดยมีกิจกรรมเอนไซม์สูงสุด 0.4 IU/mL และสามารถผลิตลีแวนได้สูงสุด 14.59% (w/v) จากนั้นทำการศึกษา การบำบัดของเสียอุตสาหกรรมอาหาร พบว่า กิจกรรมเอนไซม์มีค่าสูงสุด 0.066 IU/mL และศึกษาการบำบัดของเสียอุตสาหกรรมอาหารด้วยเอนไซม์ลีแวนซูเครสแบบตรึง พบว่า กิจกรรมเอนไซม์ มีค่าสูงสุด 0.023 IU/mL จากการศึกษาสรุปได้ว่า เอนไซม์ลีแวนซูเครสบริสุทธิ์สามารถเปลี่ยนรูปของเสียให้เป็นสารลีแวน ซึ่งเป็นสารที่มีมูลค่า เพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพ |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
เอนไซม์ |
|
dc.subject |
เอนไซม์ -- การใช้ในอุตสาหกรรม |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม |
|
dc.title |
การผลิตสารลีแวนด้วยเอนไซม์ลีแวนซูเครสเพื่อการประยุกต์ใช้กับกากของเสียอุตสาหกรรมด้วยเอนไซม์แบบตรึง |
|
dc.title.alternative |
Production of levn by levnsucrse for ppliction with industril wste by immobilized enzyme |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
Levansucrase enzyme is excreted out of from Bacillus siamensis which can degrade sucrose become as products with hydrolysis and transfructosylation reaction formed as a polysaccharide or levan. In this study, we performed by using the purified levansucrase enzyme to find the optimum condition of sucrose concentration, pH and temperature effect to the production of levan. In which all 5 proteins were found after purification of the enzyme. The enzyme was finally purified about 11.47 folds purer than crude enzyme, with a recovery of 78.75%. The specific activity of enzyme was 15.95 IU/mL. The optimization of sucrose concentration was 20% (w/v), pH 6 of phosphate buffer and acetate buffer at 37 ºC for 48 hours. The condition of phosphate buffer and acetate buffer were not significantly different. The maximal enzyme activity of levansucrase was 0.4 IU/mL which produce levan to 14.59% (w/v). Moreover, we used purified levansucrase enzyme to produce levan from the food industry waste. The results showed that maximal enzyme activity was 0.066 IU/mL. On the other hand, by using immobilized levansucrase enzyme, it was found the maximal enzyme activity was 0.023 IU/mL. From the study, it can be concluded that the levansucrase enzyme can transform the food waste into levan, which is a substance that is worth to encourage the development of health products. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม |
|
dc.degree.name |
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|