dc.contributor.advisor | ภารดี อนันต์นาวี | |
dc.contributor.advisor | สถาพร พฤฑฒิกุล | |
dc.contributor.author | สุนิสา เนาวรัตน์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-06T04:25:43Z | |
dc.date.available | 2023-06-06T04:25:43Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8848 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 | |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษา วัฒนธรรมองค์การของโรงเรียน ปัจจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร และพฤติกรรมของผู้บริหารที่ ส่งผลต่อบรรยากาศองค์การของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 จำนวน 361 คน โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของ Krejcie and Morgan (1970, pp. 608-610) และใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ แบ่งออกเป็น 4 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 บรรยากาศองค์การของโรงเรียน ตอนที่ 2 วัฒนธรรมองค์การ ของโรงเรียน ตอนที่ 3 ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร และตอนที่ 4 พฤติกรรมของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 โดยแบบสอบถามแต่ละตอนมีค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .20-.74 มีค่าความเชื่อมั่น อยู่ระหว่าง .86-.96 สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบเพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1. บรรยากาศองค์การของโรงเรียนวัฒนธรรมองค์การของโรงเรียน ภาวะผู้นำ การเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร และพฤติกรรมของผู้บริหารในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก และเป็น บรรยากาศแบบควบคุม 2. วัฒนธรรมองค์การของโรงเรียน ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารและพฤติกรรมของผู้บริหารโดยรวม มีความสัมพันธ์ทางบวกกับบรรยากาศองค์การของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 อยู่ในระดับปานกลางถึงระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. วัฒนธรรมองค์การของโรงเรียน ด้านความหลากหลายของบุคลากร (X110) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร ด้านการกระตุ้นทางปัญญา (X23) พฤติกรรมของผู้บริหาร ด้านการรู้จักปรับปรุงแก้ไข (X32) ด้านการประสานงาน (X36) ด้านการให้การยอมรับนับถือ (X33) และด้านการเข้ากับสังคมได้อย่างดี (X37) ส่งผลต่อบรรยากาศองค์การของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยร่วมกันพยากรณ์บรรยากาศองค์กรของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 ได้ร้อยละ 79.10, (R2 = 0.791) แสดงสมการพยากรณ์ในคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้ Y^ = .39+ .25 (X32) +.16 (X23) + .15 (X110) +.14 (X36) +.40 (X33) + .10 (X37) Z^ = .34 (Z32) +.21 (Z23) + .17 (Z110) + .17 (Z36) +.13 (Z33) + .12 (Z37) | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | สภาพแวดล้อมในโรงเรียน | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา | |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อบรรยากาศองค์การของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 | |
dc.title.alternative | Fctors ffecting orgniztion climte of schools under the secondry eductionl service re office 2 | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study; the organizational culture of schools, The school administrator transformational leadership, and the school administrator behavior those affected organizational climate of schools under the Secondary Educational Service Area Office 2. The samples were 361 teachers in schools under the Secondary Educational Service Area Office 2, based on Krejcie and Morgan (1970, pp. 608-610). Selected by stratified random sampling. The data collection a 5-using scale rating questionnaire, consisted of four parts: 1. organizational climate of schools, 2. organizational culture of schools, 3. school administrator transformational leadership, and 4. school administrator behavior. The item discrimination power was between .20-.74 and reliability was between .86-.96. Data were analyzed by mean ( ), standard deviation (SD), Pearson's product moment correlation and stepwise multiple regression analysis. The results of this research indicated as follows: 1. The organization climate of schools, the organizational culture of schools, the school administrator transformational leadership, and school administrator’s behavior under the Secondary Educational Service Area Office 2, in overall and each aspect were at a high level. The climate of the schools was the controlled climate Pattern. 2. The organizational culture of schools, school administrator transformational leadership, and school administrator behavior, the overall were positively related to organizational climate of schools under the Secondary Educational Service Area Office 2 at moderate to high level, with a statistical significance level of .01 3. The organizational culture of schools on Workforce Diversity (X110), the school administrator transformational leadership on intellectual Stimulation (X23), and the school administrator behavior on problem solving (X32), coordination (X36), recognition (X33) and socialize (X37) influenced organizational climate of schools under the Secondary Educational Service Area Office 2 with statistically significant at level of .05 and could predict the organizational climate of schools under the Secondary Educational Service Area Office 2 at 79.10 percent (R2 = 0.791) The regression equations of the raw score as: Y^ = .39+ .25 (X32) +.16 (X23) + .15 (X110) +.14 (X36) +.40 (X33) + .10 (X37) The regression equations of points in the form of standard score as: Z^ = .34 (Z32) +.21 (Z23) + .17 (Z110) + .17 (Z36) +.13 (Z33) + .12 (Z37) | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารการศึกษา | |
dc.degree.name | การศึกษามหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา |