dc.contributor.advisor |
อาพันธ์ชนิต เจนจิต |
|
dc.contributor.advisor |
สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์ |
|
dc.contributor.author |
เบญจลักษณ์ อ่อนศรี |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-06T04:25:41Z |
|
dc.date.available |
2023-06-06T04:25:41Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8841 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2562 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถ ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา และ 3) เพื่อศึกษาการทำงานเป็นทีมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเบญจคามวิทยา จังหวัดบุรีรัมย์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 18 คน โดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และ 4) แบบสังเกตพฤติกรรม การทำงานเป็นทีม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบทีแบบ t-test for dependent sample ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) การทำงานเป็นทีมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาโดยรวมอยู่ในระดับดี |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) |
|
dc.subject |
คณิตศาสตร์ -- การแก้ปัญหา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน |
|
dc.title |
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 |
|
dc.title.alternative |
Effects of mthemtics lerning ctivity mngement using coopertive lerning std technique with the poly’s problem solving process of prthom suks 4 students |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were to; 1) compare mathematics learning achievement of students in Prathomsuksa 4 before and after learning activity management using cooperative learning STAD technique with the Polya’s problem solving process, 2) compare mathematics problem solving ability of students in Prathomsuksa 4 before and after learning activity management using cooperative learning STAD technique with the Polya’s problem solving process and, 3) to study team work of studying of Prathomsuksa 4 students in studying activity management using cooperative learning STAD technique with the Polya’s problem solving process. The sample group in this research consisted of 18 Prathomsuksa 4 students studying in Buriram Province, The cluster random sampling method was used in selecting students for the study. The research instruments were; 1) the lesson plans using STAD technique with the Polya’s, 2) a learning achievement test, 3) a problem solving ability test and, 4) team work behaviors observation forms. The data were analyzed by Percentage, Mean, Standard deviation, and the t-test for dependent sample. The research results were as follows: 1) Students mathematics posttest learning seores of learning activity management and cooperative learning STAD technique with the polya’s problem solving process was significantly higher than the pre-test at .05 level, 2) The post-test scores of student’ mathematics problem solving ability in the using learning activity management using cooperative learning STAD technique with the polya’s problem solving process was significantly higher than the pre-test at .05 level and, 3) The team work of Prathomsuksa 4 the polya’s were at a good level. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
หลักสูตรและการสอน |
|
dc.degree.name |
การศึกษามหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|