dc.contributor.advisor |
ธนวิน ทองแพง |
|
dc.contributor.advisor |
ประยูร อิ่มสวาสดิ์ |
|
dc.contributor.author |
ภัสรารัตน์ จอมโชติ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-06T04:25:40Z |
|
dc.date.available |
2023-06-06T04:25:40Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8837 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจ ในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูโรงเรียนบ้านบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูในโรงเรียนบ้านบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” ปีการศึกษา 2561 ซึ่งกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยการเทียบจากตารางของ Krejcie and Morgan (1970, p. 608) ได้กลุ่มตัวอย่าง 110 คน เครื่องมือที่ใช้ลักษณะแบบสอบถามเป็นรูปแบบมาตราประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ แบ่งเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 แบบสอบถามแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนบ้านบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดชลบุรี จำนวน 33 ข้อ มีอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .39-.77 และความเชื่อมั่น 0.95 ตอนที่ 2 แบบสอบถามแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูโรงเรียนบ้านบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดชลบุรี จำนวน 24 ข้อ มีอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .27-.64 และความเชื่อมั่น .92 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และการวิเคราะห์โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ เพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) ผลการศึกษา พบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนบ้านบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงจากมากไปน้อย คือ ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ การสร้างบารมี ด้านการกระตุ้นเชาวน์ปัญญา และด้านการคำนึงถึงปัจเจกบุคคล ตามลำดับ 2. แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูโรงเรียนบ้านบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 โดยรวมและรายข้ออยู่ในระดับมากเรียงลำดับได้ ดังนี้ ความต้องการสัมพันธ์ ความต้องการเจริญก้าวหน้า ความต้องการดำรงชีวิต ตามลำดับ 3. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูง ในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูของโรงเรียนบ้านบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 พบว่า โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ภาวะผู้นำทางการศึกษา |
|
dc.subject |
ครู -- การทำงาน (ประถมศึกษา) |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา |
|
dc.subject |
การจูงใจในการทำงาน |
|
dc.title |
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูโรงเรียนบ้านบึง "อุตสาหกรรมนุเคราะห์" สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดชลบุรี |
|
dc.title.alternative |
The reltionship between trnsformtionl ledrship nd work motivtion of governm techer in bnbung uttshkmnukho school the secondry eduction service e office 18 chonburi |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The objective of this research was to study the relationship between transformational leadership and work motivation of government teacher in Bunbung Uttasahakamnukhao school under ChonBuri Secondary Education Service Area Office18. The sample group was 110 teachers in Bunbung Uttasahakamnukhao school. The number of sample was determind by the Krejcie and Morgan’s table (Krejcie & Morgan, 1970, p. 608). The data collection instrument in this study was a five-point-rating-scale questionnaire where part 1 asked 33 questions concerning transformational leadership of the their administrator. This section of the questionnaire had item discriminating power between .39-.77. The reliability of this part of the questionnaire was .95. Another 24 questions in part 2 asked questions concerning work motivation of the teachers. In this part, its item discriminating power was between .27-.64. The reliability of this part of the questionnaire was .92. The statistical methods used in this study were Average ( ), Standard Deviation (SD), and Pearson’s product moment correlation coefficient. The research reached the following conclusions; 1. The transformational leadership of administrators in Bunbung Uttasahakamnukhao school under ChonBuri Secondary Education Service Area Office18 both in general and each aspect was at a high level. The top 4 areas of transformational leadership of the teacher were 1) inspirational motivationa, 2) Idealized influence, 3) Intellectual stimulation, and 4) Individualized consideration. 2. Work motivation of government teachers in Bunbung Uttasahakamnukhao school under ChonBuri Secondary Education Service Area Office 18 both in overall and each aspect was at a high level. The top 5 factors which could motivate of school teachers were; 1) Related Needs, 2) Growth Need, and 3) Existence Needs. 3. This study found that the relationship between transformational leadership and work motivation of government teachers in Bunbung Uttasahakamnukhao School Under ChonBuri Secondary Education Service Area Office18 there are statistically significantly .01 level. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การบริหารการศึกษา |
|
dc.degree.name |
การศึกษามหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|