DSpace Repository

ความต้องการพัฒนาตนเองของครูกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตสตาร์บุษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 จังหวัดจันทบุรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor ประยูร อิ่มสวาสดิ์
dc.contributor.author นาวิน ใจสุทธิ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-06-06T04:25:39Z
dc.date.available 2023-06-06T04:25:39Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8836
dc.description งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความต้องการพัฒนาตนเองของครู กลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตสตาร์บุษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 จังหวัดจันทบุรี จำแนกตามประสบการณ์ในการสอน และระดับชั้นที่สอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตสตาร์บุษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 ปีการศึกษา 2562 โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากตารางของเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970) และทำการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) ตามขนาดโรงเรียน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 160 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .26-.85 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( X ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการทดสอบความแตกต่างรายคู่โดยการใช้วิธี LSD (Least significant difference) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความต้องการพัฒนาตนเองของครูกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตสตาร์บุษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากเรียงลำดับมากไปหาน้อย 3 อันดับแรกได้แก่ ด้านการประชุมสัมมนา ด้านการฝึกอบรม และด้านการศึกษาดูงาน ตามลำดับ 2. ความต้องการพัฒนาตนเองของครูกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตสตาร์บุษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 จำแนกตามประสบการณ์สอน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้น ด้านการประชุมสัมมนา แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. ความต้องการพัฒนาตนเองของครูกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตสตาร์บุษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 จำแนกตามระดับชั้นที่สอน พบว่า โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การพัฒนาตนเอง
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subject ครู -- การพัฒนาตนเอง
dc.title ความต้องการพัฒนาตนเองของครูกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตสตาร์บุษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 จังหวัดจันทบุรี
dc.title.alternative The needs for self development of techers in cmpus strbus school group under the secondry eductionl service re office 17, chnthburiprovince
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research aimed to study and compare the needs for self development of teachers in Campus Starbus school group under the Secondary Educational Service Area Office17, Chanthaburi Province as classified by experiences and teaching level. The sample included teachers in Campus Starbus school group under the Secondary Educational Service Area Office17in the academic year of 2019. The sample size estimation was based on Krejcie and Morgan Sample Size Table (Krejcie & Morgan, 1970), the sample, derived by means of stratified random sampling, using school size, consisted of 160 teachers. The instrument used for collecting thedata was five-rating scale questionnaire. The discrimination power of the questionnaire was between .26-.85 and the reliability was .96. The data were analyzed by a computer program; using mean, standard deviation, t-test, One-way ANOVA, and Least Significant Difference. The research results were as follows: 1. The needs for self development of teachers in Campus Starbus school group under the Secondary Educational Service Area Office 17, Chanthaburi Province, both as a whole and in each particular aspect, were found at a high level. Ranked from highest to low were the seminar, training, and study trips respectively. 2. The needs for self development of teachers in Campus Starbus school group under the Secondary Educational Service Area Office 17, Chanthaburi Province, classified by the experiences, both as a whole and in each particular aspect showed statistically significantly at .05 level, except for seminar was not significantly different statistically. 3. The needs for self development of teachers in Campus Starbus school group under the Secondary Educational Service Area Office 17, Chanthaburi Province, classified by the teaching level, both as a whole and in each particular aspect showed no statistically significant.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา
dc.degree.name การศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account