DSpace Repository

ประสิทธิผลของโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองต่อความรู้เรื่องโรคเบาหวานพฤติกรรมการออกกำลังกายจำนวนก้าวเดินและระดับฮีโมโกลบินเอวันซีของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2

Show simple item record

dc.contributor.advisor กาญจนา พิบูลย์
dc.contributor.advisor ไพบูลย์ พงษ์แสงพันธ์
dc.contributor.author สุชาดา พวงจำปา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-06-06T04:25:31Z
dc.date.available 2023-06-06T04:25:31Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8810
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การศึกษานี้เป็นการศึกษากึ่งทดลอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองต่อความรู้เรื่องโรคเบาหวาน พฤติกรรมการออกกำลังกาย จำนวนก้าวเดิน และระดับฮีโมโกลบินเอวันซีของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีค่าระดับฮีโมโกลบินเอวันซีอยู่ระหว่างร้อยละ 7-9 และอาศัยอยู่ในอำเภอ เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี จำนวน 70 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย กลุ่มละ 35 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการบริการปกติ ใช้ระยะเวลาการศึกษาทั้งสิ้น 28 สัปดาห์ เครื่องมือในการศึกษาประกอบด้วย 4 ส่วน คือ โปรแกรมการสนับสนุนตนเองการจัดการความรู้แบบสอบถามความรู้เรื่องโรคเบาหวานและพฤติกรรมการออกกำลังกายแบบบันทึกจำนวนก้าวเดิน และการตรวจระดับ Hemoglobin A1C วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยด้วยสถิติ Pair t-test, Independent samples t-test และการวิเคราะห์ข้อมูลความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ (Repeated measure ANOVA) ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังการทดลองและระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ย ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการออกกำลังกายและมีค่าเฉลี่ยจำนวนก้าวเดินสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p< 0.05 จากผลการศึกษาพบว่า โปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองส่งผลให้ผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 2 มีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน มีพฤติกรรมการออกกำลังกายและจำนวนก้าวเดินเพิ่มสูงขึ้น และลดระดับน้ำตาลสะสมในเลือดได้ ดังนั้น ผู้ให้บริการสุขภาพทั้งในสถานบริการสุขภาพและในชุมชนสามารถนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้กับผู้ป่วยเบาหวานกลุ่มอื่น ๆ ต่อไป
dc.language.iso th
dc.publisher คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject เบาหวาน -- ผู้ป่วย
dc.subject เบาหวาน -- โรค
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสร้างเสริมสุขภาพ
dc.title ประสิทธิผลของโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองต่อความรู้เรื่องโรคเบาหวานพฤติกรรมการออกกำลังกายจำนวนก้าวเดินและระดับฮีโมโกลบินเอวันซีของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
dc.title.alternative Effectiveness of self-mngement support progrm on knowledge, exercise behvior, number of steps, nd hemoglobin 1c mong type 2 dibetes ptients
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This quasi-experimental research was aimed to study the effectiveness of a selfmanagement support program on knowledge, exercise behavior, number of steps and blood sugar levels among type II diabetes mellitus patients. Seventy type II diabetes patients with 7 to 9 percent of hemoglobin A1C and living in Ko Si Chang, Chon Buri province participated in this study, were equally randomized-divided into either the treatment or a control group. Thirty five type II diabetes mellitus patients were in each group. In the 28 week period, the treatment group was intervened through self-management support program. Research tools consist of four parts: self-management support program, knowledge and exercise behavior questionnaires, a step recorder report and hemoglobin A1C examination. The data were analyzed by using descriptive statistics, paired sample t-test, independent samples t-test and repeated measure ANOVA. The results showed that post-intervention period and after follow up period in the experimental group, the average scores of knowledge, exercise behavior and number of steps were higher than the average scores of control group respectively at p<0.05. For average scores of hemoglobin A1C level in after follow up period in the experimental group was lower than the average scores of hemoglobin A1C level in the control group respectively at p<0.05. The finding of this study indicated that the self-management support program had outcomes which could cause the type II diabetes patients to modify exercise behavior and a number of steps, could improve knowledge, and could reduce hemoglobin A1C level. Therefore, health care providers in both health care service and community can apply the self-management support program to promote modifying behavior in other type II diabetic patient group.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การสร้างเสริมสุขภาพ
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account