DSpace Repository

ผลของโปรแกรมออกกำลังกายด้วยแผ่นยางยืดต่อความสามารถการใช้งานข้อและการเคลื่อนไหวข้อเข่าในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม

Show simple item record

dc.contributor.advisor ปาจรีย์ อับดุลลากาซิม
dc.contributor.advisor นิภา มหารัชพงศ์
dc.contributor.author สิริวรรณ ธรรมคงทอง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-06-06T04:25:30Z
dc.date.available 2023-06-06T04:25:30Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8807
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา (Descriptive study) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 3 อินเตอร์ จังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 200 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ รวบรวมข้อมูลระหว่าง เมษายน-มิถุนายน 2561 วิเคราะห์ด้วยค่าสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พอยท์ไบซีเรียล ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันมีพฤติกรรมการดูแลตนเองใน ระดับสูง คะแนนเฉลี่ย 60.74 (SD = 5.14) ผลการวิเคราะห์พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ได้แก่ เพศ (rpb= 0.247, p< 0.01) ความเชื่อด้านสุขภาพ (r= 0.185, p< 0.01) ระยะเวลาการเจ็บป่วย (r = 0.151, p< 0.05) และการสนับสนุนทางสังคม (r= 0.145, p< 0.05) จากผลการวิจัย มีข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาครั้งนี้ เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาแนวทางสำหรับการส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันต่อไป
dc.language.iso th
dc.publisher คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสุขศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพ
dc.subject การออกกำลังกาย -- เครื่องมือและอุปกรณ์
dc.subject การออกกำลังกาย
dc.title ผลของโปรแกรมออกกำลังกายด้วยแผ่นยางยืดต่อความสามารถการใช้งานข้อและการเคลื่อนไหวข้อเข่าในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม
dc.title.alternative Effect of exercise progrm using ther-bnd on joint bility nd joint mobility in ptient with knee osteorthritis
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This descriptive study aimed to factors associated with self-care behaviors of acute coronary syndrome patients, Chularat 3 international hospital, Samutprakan province. The sample of 200 persons was derived from systematic sampling. Data collection included a questionnaire was between april and june 2018. Analysis was done in terms ofPercentage, Average, Standard deviation, Pearson’s product-moment correlation coefficient and Point-biserial correlation coefficient. Research results showed that acute coronary syndrome patients expressed a high level of self-care with the average of 60.74 (SD = 5.14). In addition, the analysis revealed following factors related to self-care behaviors of acute coronary syndrome patients:gender (rpb= 0.247, p< 0.01), Health belief (r= 0.185, p< 0.01), duration of illness (r = 0.151, p< 0.05) and social support (r= 0.145, p< 0.05). Suggestions from this research could be used for developing guideline in order to promote positive self-care behaviors among acute coronary syndrome patients.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline สุขศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพ
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account