dc.contributor.advisor |
ศรีรัตน์ ล้อมพงศ์ |
|
dc.contributor.advisor |
นันทพร ภัทรพุทธ |
|
dc.contributor.author |
ขวัญประชา ป้องป้อม |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-06T04:25:17Z |
|
dc.date.available |
2023-06-06T04:25:17Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8800 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน บริษัท รับเหมาติดตั้งนั่งร้าน เพื่อปรับปรุงระบบการกู้ภัยบนที่สูงและเพื่อศึกษาผลของระยะเวลาที่เกี่ยวกับหยิลอุปกรณ์ช่วยเหลือการติดตั้งรอกเชือกช่วยเหลือและนำหุ่นลงสู่พื้นก่อนและหลังการปรับปรุงระบบการกู้ภัยบนที่สูงของพนักงานบริษัทแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง โดยศึกษากับ พนักงานประกอบติดตั้งนั่งร้าน จำนวน 30 คน แบ่งออกเป็น 6 ทีม โดยใช้แบบสังเกตเป็นเครื่องมือในการศึกษา ทดสอบกับหุ่นที่มีน้ำหนัก 100 กิโลกรัม ใส่อุปกรณ์ป้องกันการตก ตกลงมาที่ระดับความสูงที่ระดับความสูง 4 ระดับ คือ 8 เมตร 10 เมตร 12 เมตร และ 14 เมตร ตามที่กำหนด ให้แต่ละทีมช่วยดึงหุ่นขึ้นมาโดยจะทำการจับเวลาทำการหาค่าเฉลี่ยก่อนการปรับปรุง หลังจากนั้นทำการฝึกอบรมให้กับพนักงานในการประกอบอุปกรณ์ทำการปรับปรุงระบบ แล้วทำการทดลอง ผลการศึกษาพบว่า พบว่า เมื่อมีการปรับปรุงระบบการช่วยเหลือที่ระยะความสูง 8 เมตร 10 เมตร 12 เมตร และ 14 เมตร จะลดเวลาช่วยเหลือได้ 35.76 นาที 63.31 นาที 92.60 เมตร และ 126.94 นาที ตามลำดับ ผลการทดสอบเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระยะเวลาก่อนหลังการปรับปรุงระบบ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (p< 0.001) ข้อเสนอแนะควรกำหนดเป็นกฎระเบียบหรือมาตรฐานในการกู้ภัยการทำงานบนที่สูงผู้ปฏิบัติงานทุกคนควรได้รับการฝึกอบรมการกู้ภัยบนที่สูงและนายจ้างควรจะจัดหาอุปกรณ์การกู้ภัยให้กับผู้ปฏิบัติงาน เพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
อุบัติเหตุ -- การป้องกัน |
|
dc.subject |
ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย |
|
dc.title |
ประสิทธิผลของการปรับปรุงระบบการกู้ภัยบนที่สูงที่มีต่อความปลอดภัยในการทำงานของคนงาน บริษัทรับเหมาติดตั้งนั่งร้านแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง |
|
dc.title.alternative |
The effectiveness of the improvement in rescue system on high res, effecting on the sfety of workers t scffolding instlltion contrctor compny in ryong province |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This research aim to study safety of workers at a scaffolding installation contractor for improvทะrescue system on high areas and effecting to the period of rescue before and after improvement the system at a scaffolding installation contractor company in Rayong province. The population were 30 operators which separated to 6 teams. Observation form was conducted the instrument of this research. The dummy 100 kilograms which wearing safety harness fall from difference levels. Time count began calling someone until the dummy lay down to floor. Test 4 levels were 8 10 12 and 14 metres respectively. Then training to the population for install rescue equipment improvement the system and test. The research result reveal that after improve the rescue system at 8 meter 10 meter 16 minutes and 12 meter height could reduced period to 35.76, 63.31, 92.60 and 126.94 minutes, respectively. The result of this research reveal that average before and after improve the rescue system had different on period of the rescue at 0.01 significant level (p < 0.001). This research suggested that the rescue system on high areas should be set the procedure. All of the employees should gave training the rescue system. The employer should supply rescue equipment for emergency case occurred. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|