DSpace Repository

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานของสำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Show simple item record

dc.contributor.advisor รชฎ จันทร์น้อย
dc.contributor.author อัจฉรา เด่นเจริญโสภณ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned 2023-06-06T04:21:03Z
dc.date.available 2023-06-06T04:21:03Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8741
dc.description งานนิพนธ์ (ปร.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานของสำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน (3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคต่อการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานและหาข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไข ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ข้าราชการเฉพาะในระดับชำนาญการและปฏิบัติการ พนักงานราชการลูกจ้างประจำและลูกจ้างชั่วคราว จำนวน 280 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.93 วิเคราะห์ข้อมูลสถิติด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยโดยการคัดเลือกตัวแปรแบบคัดเลือกเข้า (Enter selectiion) ผลการศึกษาในครั้งนี้พบว่าการรับรู้ว่าใช้งานง่ายมีอิทธิพลเชิงบวกต่อการรับรู้ว่ามีประโยชน์สามารถทำนายหรือพยากรณ์การรับรู้ว่ามีประโยชน์ได้ร้อยละ 52 การรับรู้ว่าใช้งานง่ายและการรับรู้ว่ามีประโยชน์มีอิทธิพลเชิงบวกต่อทัศนคติการใช้งานและตัวแปรทั้งสองตัว สามารถร่วมทำนายทัศนคติการใช้งานได้ร้อยละ 46 ส่วนทัศนคติการใช้งานมีอิทธิพลเชิงบวกต่อพฤติกรรมความตั้งใจใช้สามารถทำนายหรือพยากรณ์พฤติกรรมความตั้งใจนำไปใช้ได้ร้อยละ 33
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject เทคโนโลยีสารสนเทศ
dc.subject สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
dc.subject เทคโนโลยีสารสนเทศ -- การจัดการ
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป
dc.title ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานของสำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
dc.title.alternative Fcters ffecting informtion technology cceptnce for work t office of the permnent secretry for ministry of science nd technology
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of this study was threefold. First, it aimed at surveying the opinion among personnel toward their information technology acceptance for work at Office of the Permanent Secretary for Ministry of Science and Technology. Also, it attempted to determine the relationship between factors influencing information technology acceptance for work at Office of the Permanent Secretary.The last purpose was to examine problems and obstacles of information technology acceptance for work among these subjects and to provide solving guidelines. The population participating in this study included 280 government officials at professional and practitioner levels, government employees, permanent and temporary workers. The instrument used to collect the data was a questionnaire with a level of reliability at .93. The statistical tests used to analyze the collected data included percentage, arithmetic mean, standard deviation, Pearson Product Moment Coefficient, and multiple regression analysis with Enter selection of variables. The result of this study revealed that the subjects’ perceived ease of use of information technology positively affected their perception of its usefulness, and it accounted for 52%. Also, both the subjects’ perceived ease of use and usefulness of information technology positively influenced their attitude toward using it. In addition, both variables accounted for 46% of attitude toward using the information technology. Finally, it was shown that attitude toward using had a positive influence on intention to use the information technology which accounted for 33 %.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารทั่วไป
dc.degree.name รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account