DSpace Repository

การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการจัดการขยะมูลฝอยขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองข้างคอก อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor ไพฑูรย์ โพธิสว่าง
dc.contributor.author ศิริพงษ์ ศรีนาค
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-06-06T04:14:41Z
dc.date.available 2023-06-06T04:14:41Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8693
dc.description งานนิพนธ์ (ร.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการจัดการขยะมูลฝอยขององค์การบริหารส่วนตําบลหนองข้างคอก และเพื่อเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนที่อาศัยอยู่ในองค์การบริหารส่วนตําบลหนองข้างคอก จําแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในตําบล กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ประชาชนที่อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลหนองข้างคอก จํานวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติ t-Test และใช้สถิติ One-way ANOVA หากพบว่ามีความแตกต่างจะทําการทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Least Significant Difference test) ผลการวิจัยพบว่า ระดับการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนที่อาศัยอยู่ในองค์การบริหารส่วนตําบลหนองข้างคอก โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาในรายละเอียดสรุปได้ว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนด้านการรับผลประโยชน์ ประชาชนให้ความสําคัญเป็นอันดับแรก รองลงมาคือ ด้านการปฏิบัติการ ด้านการประเมินผล และอันดับสุดท้าย คือด้านการตัดสินใจ ผลการเปรียบเทียบโดยการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ประชาชนที่มีอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน และระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในตําบลต่างกัน มีส่วนร่วมของประชาชนต่อการจัดการขยะมูลฝอยขององค์การบริหารส่วนตําบลหนองข้างคอก แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้ ส่วนประชาชนที่มีเพศต่างกันมีส่วนต่อการจัดการขยะมูลฝอยไม่ต่างกัน จึงไม่เป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้พบว่า องค์การบริหารส่วนตําบลหนองข้างคอก ควรจัดการประชุมประชาคมเพื่อเสนอปัญหา และความต้องการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน และควรทําแบบสอบถามประชาวิจารณ์หรือมีการทําบอร์ดประชาสัมพันธ์เพื่อให้ประชาชนได้มาแสดงความคิดเห็นเมื่อมาติดต่อราชการ
dc.language.iso th
dc.publisher คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การกำจัดขยะ
dc.subject ขยะ -- การจัดการ
dc.subject การมีส่วนร่วมของประชาชน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการเมืองการปกครอง
dc.title การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการจัดการขยะมูลฝอยขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองข้างคอก อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternative People’s prticiption in solid wste mngement in nongkhngkok sub-district dministrtive orgniztion, mueng chonburi, chonburi province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objectives of the study, “People's Participation in Solid Waste Management in Nongkhangkok Sub-District Administrative Organization” are to study the level of people’s participation in solid waste management in Nongkhangkok sub-district administrative organization, and to compare the participation level in solid waste management of the people living in Nongkhangkok area classified by gender, age, education level, occupation, salary, and living period. The sample used in this research are people living in Nongkhangkok amounted to 400 people. The statistic used in data analysis are frequency. The result of the study is the level of people’s participation in solid waste management in Nongkhangkok sub-district administrative organization is low, as a whole, and when considering in detail, it can be concluded that the people’s participation in solid waste management in terms of participation in receiving benefits is at medium level. The people firstly place the importance on participation, and secondly on participation in the operation (medium level), thirdly on participation in evaluation (low level), and lastly on participation in decision making (low level). Statistical hypothesis testing result, classified by general information of the respondents, can be concluded that people of different gender participated in solid waste management. People of the same gender rejected the research hypothesis, and people of different age, education level, occupation, salary, and living period have different participation in solid waste management in this area statistically significant at .05 level, so the research hypothesis is accepted
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การเมืองการปกครอง
dc.degree.name รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account