DSpace Repository

ความต้องการสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ ความคาดหวังที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการในเขตเทศบาลตำบลหลักห้า จังหวัดสมุทรสาคร

Show simple item record

dc.contributor.advisor เบญญาดา กระจ่างแจ้ง
dc.contributor.author กรกมล บุญแพทย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-06-06T04:14:36Z
dc.date.available 2023-06-06T04:14:36Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8670
dc.description งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณกับการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความต้องการสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลหลักห้าฯ 2) ความคาดหวังของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลหลักห้าฯ 3) ความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลหลักห้าฯ และเพื่อศึกษาโครงสร้างพื้นฐานและการบริหารจัดการระบบสวัสดิการ สังคมผู้สูงอายุกลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 400 คน และเจ้าหน้าที่ผู้มีส่วนดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารจัดการระบบสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ จำนวน 5 คน ที่อยู่ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลหลักห้า จังหวัดสมุทรสาครเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน (Multiple linear regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า ด้านความต้องการสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุพบว่าภาพอยู่ในระดับมาก ด้านที่ระดับมากที่สุด คือ ด้านสุขภาพ รองลงมาคือ ด้านที่อยู่อาศัย ด้านความปลอดภัย ด้านนันทนาการและน้อยที่สุด คือ ด้านการศึกษา ตามลำดับ และผลการวิจัยด้านความคาดหวังของผู้สูงอายุพบว่าภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่ระดับมากที่สุด คือ ด้านความคาดหมายรองลงมาคือ ด้านความพอใจ ด้านสื่อกลางและน้อยที่สุด คือ ด้านผลลัพธ์ ตามลำดับ และผลการวิจัย ด้านความพึงพอใจของผู้สูงอายุในคุณภาพการให้บริการ พบว่าภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่ระดับมากที่สุด คือ ด้านการเข้าใจและรู้จักลูกค้ารองลงมาคือ ด้านความเป็นรูปธรรมของการบริการ ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการให้ความมั่นใจแก่ลูกค้าและน้อยที่สุด คือ ด้านการตอบสนองลูกค้า ตามลำดับ และในด้านโครงสร้างพื้นฐานและการบริหารจัดการระบบสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุพบว่า บทบาทสำคัญในการบริหารจัดการระบบสวัสดิการสังคม ผู้สูงอายุมีการอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้สูงอายุเบี้ยยังชีพ ติดตาม ประเมินผลการแนะนำผู้สูงอายุเกี่ยวกับสวัสดิการสังคมของการบริหารจัดการระบบสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกับผู้สูงอายุสนับสนุนให้มีการประสานงาน และมีการช่วยดูแลเรื่องเบี้ยยังชีพ ออกหน่วยบริการ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับประโยชน์สูงสุด (เน้นการรักษาสิทธิให้กับผู้สูงอายุ)
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject สวัสดิการผู้สูงอายุ
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ
dc.title ความต้องการสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ ความคาดหวังที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการในเขตเทศบาลตำบลหลักห้า จังหวัดสมุทรสาคร
dc.title.alternative The elderly' socil welfre needs nd the expecttions ffecting stisfction in service qulity of Lk H district municiplity in Smut Skhon province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This study was a combination of quantitative research and qualitative research and its purposes were to study 1) needs, 2) expectation of the elderly in Lak Ha District Municipality in Samut Sakhon Province, 3) satisfaction of the quality of services provided to the elderly in Lak Ha District Municipality, and it was also to study the infrastructure and management of the elderly social welfare system. The sample used consisted of 400 elderly people aged over 60 years and 5 officials involved in the management of social welfare system in the area of Lak Ha District Municipality in Samut Sakhon Province. The tools used in this research were questionnaires and interviews. Statistics used in data analysis consisted of descriptive statistics, namely frequency, percentage, mean, and standard deviation and inferential statistics which was multiple linear regression analysis. The elderly’s overall need for social welfare was very high. The aspect with the highest mean was health Next, it was the need for accommodation. The next aspect was security. Next, it was recreational. In addition, the need with least mean was education need respectively. For the results of the research on the expectations of the elderly, the overall expectation was very high. The highest mean of expectation was anticipation. Next, it was followed by satisfaction. Next, it was medium. In addition, the expectation with lowest mean was the outcome respectively. The overall elderly’s satisfaction with the quality of service was very high. The aspect with the highest mean was understanding and knowing customers. In addition, it was followed by tangibles of the service. Next, it was the reliability. Then, it was assurance. The least satisfaction was the responsiveness respectively. In terms of infrastructure and social welfare management, the elderly found providing facilities, the subsistence allowances, follow-up, and evaluation significant role in the management system. There have been introduction on elderly’s social welfare, management of elderly social welfare systems, opportunity for the community to participate in activities with the elderly, taking care of the subsistence allowance, and having service units to visit elderly for their benefits. (Focusing on protecting rights for elderly people)
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การจัดการสาธารณะ
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account