dc.contributor.advisor |
ศักดิ์ชาย จันทร์เรือง |
|
dc.contributor.author |
ปัณฑ์ชนิด โพธิกิจ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-06T04:12:08Z |
|
dc.date.available |
2023-06-06T04:12:08Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8667 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบทางธุรกิจที่เหมาะสมสำหรับผักและผลไม้อินทรีย์จากเกษตรกรที่ประสบความสำเร็จโดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักธุรกิจการเกษตรที่ทำการผลิตผักและผลไม้อินทรีย์ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออกของประเทศไทย จำนวน 8 คน ทำการสัมภาษณ์เชิงลึกที่ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจงจากทำเนียบเกษตรอินทรีย์ของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบธุรกิจที่เหมาะสมสำหรับผักและผลไม้อินทรีย์ 9 องค์ประกอบ ดังนี้ กลุ่มลูกค้าของผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรียจ์ะเป็นกลุ่มคนที่รักสุขภาพ จึงเลือกผัก และผลไม้ที่มีปลอดภัยจากสารเคมีการเสนอคุณค่าของกลุ่มลูกค้าที่รักสุขภาพต้องการบริโภค ผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารเคมีซึ่งเป็นการเสนอคุณค่าที่ตรงต่อความต้องการของกลุ่มลูกค้าที่รักสุขภาพ และลูกค้าเชื่อมั่นในผลผลิตได้จากได้ผ่านกระบวนการตรวจสอบมาตรฐาน ช่องทางการนำ คุณค่าไปสู่ลูกค้า คือ ขายผ่านทางหน้าร้าน การตลาดของผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ยังไม่แพร่หลายโดยมีพ่อค้าคนกลางมาติดต่อซื้อผลผลิตที่หน้าสวนและมีโครงการของรัฐบาลที่มีการจัดตลาดนัดสีเขียวเพื่อสนับสนุนเกษตรกรความสัมพันธ์กับลูกค้าเป็นความสัมพันธ์แบบการพบกัน โดยตรงระหว่างลูกค้ากับผู้ผลิต และลูกค้ากับพ่อค้าคนกลางกระแสรายได้มาจากการขายผักและ ผลไม้อินทรีย์ทรัพยากรหลักคือความรู้ที่ใช้ในการผลิตและวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต กิจกรรมหลัก คือ การทำปัจจัยการผลิตที่นำไปใช้ในการบวนการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์นำไปดูแลพืช เพื่อให้ได้ผักและผลไม้อินทรีย์มาจำหน่ายอพาร์ทเนอร์หลักในการหาปัจจัยการผลิตภายนอกผู้ผลิตจะรู้ แหล่งที่มาของวัตถุดิบเหล่านี้อยู่แล้วหรือติดต่อกับรถบรรทุกที่รับจ้างขนย้ายให้หาวัตถุดิบให้ โครงสร้างต้นทุน ค่าใช้จ่ายหลักของธุรกิจเกษตรอินทรีย์ประกอบด้วยค่าจ้างแรงงานที่ใช้ในกระบวนการผลิต และค่าปัจจัยการผลิตที่ต้องหาซื้อจากภายนอกเพื่อนำมาเป็นวัตถุดิบในการผลิต |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ |
|
dc.subject |
เกษตรอินทรีย์ |
|
dc.subject |
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร |
|
dc.title |
การศึกษารูปแบบธุรกิจที่เหมาะสมสำหรับผักและผลไม้อินทรีย์ |
|
dc.title.alternative |
A study of n pproprite business model for orgnic frutts nd vegetbles |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This research aims at studying an appropriate business model for organic vegetables and fruits from successful agriculturers. The data were collected from eight organic agriculturers in the Central Plain and Eastern of Thailand by conducting in-depth interviews. They were purposively selected from the organic farms database of the Office of the Permanent Secretary. The results indicated that the appropriate business model for organic fruits and vegetables was comprised of nine aspects as follows: customers of organic products are those who care for their health, thereby choosing fruits and vegetables that are chemical free; offers of values for health-conscious consumers who want to consume non-chemical agricultural products met the needs of healthy customers. They believed in the products that passed the standards in the three processes. The channel to bring values to customers was to sell through the shop. The marketing of organic products has not been widespread. There were middlemen who came to buy products at the farms and there were government projects, i.e. a green market to support agriculturers. The customer relations was a direct meeting between the customers and the agriculturers, customers and the middlemen. The main income stream came from the sale of organic vegetables and fruits. The main resources were the knowledge used in the production, and the primary activities were to take into account the production factors that could be used in the organic agriculture, to take care of plants for the products of organic vegetables and fruits; the main partners seeking the external production factors, the agriculturers would know the raw material sources or they could contact the truck drivers to have the products transferred or raw materials provided. The cost structure of the agribusiness was composed of labor costs used in the production process and costs pertaining to production factors, which have to be sought externally as a raw material for production |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
บริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร |
|
dc.degree.name |
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|