DSpace Repository

รูปแบบการเรียนรู้ระบบการตลาดและการขายแบบง่าย เพื่อประชาชนท้องถิ่นไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor บรรพต วิรุณราช
dc.contributor.author กชพร นรมาตย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-06-06T04:07:07Z
dc.date.available 2023-06-06T04:07:07Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8627
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือเพื่อศึกษารูปแบบการเรียนรู้ระบบการตลาดและการขายแบบง่ายเพื่อประชาชนท้องถิ่นไทยโดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพโดยการจัดสนทนากลุ่ม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บรวมข้อมูลคือ นักการตลาด จำนวน 3 คน นักขายจำ นวน 4 คน และผู้อำนวยการพื้นที่มูลนิธิชัยพัฒนา จำนวน 2 คน รวมเป็น 9 คน และการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โดยการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเพื่อวัดระดับความเข้าใจกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 6 กลุ่ม ๆ ละ 20 คน รวมเป็น 120 คน การวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบคู่มือการเรียนรู้ระบบการตลาดและการขายแบบง่ายเพื่อประชาชนท้องถิ่นไทยควรประกอบไปด้วยแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการตลาด และการขายแบบง่าย สำหรับประชาชนท้องถิ่นไทย จำนวน 2 ชุด รวมทั้งหมด 11 เรื่อง สรุปแยกตามหลักการตลาด ได้ดังนี้ ข้อมูลชุดที่ 1 แนวคิดทฤษฎีการตลาด 4 P ได้แก่ 1. ด้านสินค้า 2. ด้านราคา 3. ด้านสถานที่จำ หน่ายสินค้า 4. ด้านวิธีการกระตุ้น ให้เกิดการสนใจและการตัดสินใจซื้อ ซื้อสินค้าและกลับมาซื้อซ้ำ ข้อมูลชุดที่ 2 แนวคิดทฤษฎีการตลาดแบบ PDB ได้แก่ 1. ต้องกำหนดว่า ควรขายสินค้าให้ใคร 2. การสร้างความแตกต่าง 3. วีธีการให้คนจดจำสินค้าแนวคิดทฤษฎีการขาย ได้แก่ 1. การเปิดใจผู้ซื้อ 2. การปิดการขาย, แนวคิดทฤษฎีการตลาดองค์รวม (The holistic market concept) ได้แก่ การให้ความสนใจทุกคนที่อยู่รอบสินค้าหรือผลผลิต เช่น สมาชิกครอบครัว เพื่อนบ้าน คนที่มารับสินค้าไปขายร้านค้าผู้นำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องพูดเป็นเสียงเดียวกันในด้านที่ดีและแนวคิดทฤษฎีสายโซ่แห่งคุณค่า (Value chain) ได้แก่ การคำนึงถึงที่มาของวัตถุดิบที่มีคุณภาพ คือ “ต้นน้ำ” การคำนึงถึงกระบวนการผลิตที่มีคุณภาพ คือ “กลางน้ำ ” และการตลาด การขาย คือ “ปลายน้ำ” การวิจัยเชิงปฏิบัติการผลการศึกษาพบว่า แนวทางการนำแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการตลาด และการขายแบบง่ายไปใช้กับประชาชนท้องถิ่นไทย สามารถแบ่งระดับในการนำไปใช้กับประชาชนท้องถิ่นไทยเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้กลุ่มที่ 1 ใช้ข้อมูลชุดที่ 1 สำหรับประชาชนที่ไม่เคยขายสินค้าจะทำให้สามารถขายสินค้าเป็นและกลุ่มที่ 2 ใช้ข้อมูลชุดที่ 2 สำหรับประชาชนที่ขายสินค้า เป็นประจำจะทำให้มียอดขายเพิ่มขึ้น
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การตลาด
dc.subject การขาย -- การจัดการ
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ
dc.subject การตลาด -- การบริหาร
dc.title รูปแบบการเรียนรู้ระบบการตลาดและการขายแบบง่าย เพื่อประชาชนท้องถิ่นไทย
dc.title.alternative Simple lerning mrketing nd sles systemsfor thi people
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research was a cross-sectional study whose objective was to study the learning styles of simple marketing and sales system for Thai people. The research process was divided into 3 stages. Stage 1: in qualitative research, literature and related research were synthesized and there was the focus group discussion conducted by a panel of experts who were involved in marketing and sales, and 9 directors of Chaipattana Foundation. Stage 2: in action research, non-toxic longans were sold with the simple sales method discovered by the researcher for 2 years.Step 3: in action research, there was a process of measuring marketing and sales understanding with sample groups and the researcher explained and asked them to answer the questions. There were 6 sample groups which were divided into 5 regions: 1) Northern farmers’ group, 2) Central Region Farmers’ group, 3) Eastern Farmers’ group, 4) Southern Farmers’ Group, and 5) Northeastern farmers’group. The instrument was a questionnaire based on content analysis from the focus group discussion and relevant literature and researches, and a summary of 2 years of the trial of non-toxic longan sales. The results of the 3-stage study revealed that there should be 2 sets of learning guide of simple marketing and sales system for Thai people and the contents should include theories about simple marketing and sales. In fact, there should be 11 issues in these two sets of the manual guide. The issues in the first set of the manual guide should include 1) the product, 2) the price, 3) the place of sales, and 4) the method of stimulating customers’ interest, decision to purchase and repurchase. The second set of the learning guide should include: 1) To whom should the products be sold?, 2) How should the sellers make the products different?, 3) How should the sellers make people remember the products?, 4) How should the sellers open the buyer's mind?, 5) How should the sellers close the sales?, and 6) How should the sellers be interested in every people around the products, such as family members, neighbors, people who come to collect the goods, stores, community leaders and related organizations and how should the buyers make everybody to say the same good thing for the products?, 7) How should the sellers consider these things: 1) the upstream (the origin of quality raw materials should be taken into account), 2) middle stream (production processes should be taken into account), and 3) downstream (sales and marketing). To adopt the theory of marketing, local Thai people can use the learning guides in two levels. The first set of the learning guide would be used by people who have never sold longans. This guideline enables them to sell the products. The second set of the learning guide would be used by people who regularly sell products and the guide should help them increase their sales.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline การจัดการสาธารณะ
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account