dc.contributor.advisor |
วารี กังใจ |
|
dc.contributor.advisor |
สหัทยา รัตนะมงคลกุล |
|
dc.contributor.author |
กัลยรัตน์ ศรกล้า |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T06:54:28Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T06:54:28Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8096 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (พย.ม)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในสถานสงเคราะห์คนชราต้องระสบกับการเปลี่ยนแปลงบริบท และสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิต ภายใต้ข้อจำกัด และกฎระเบียบต่าง ๆ ของสถานสงเคราะห์ อาจส่งผลต่อการปรับตัวต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้ลำบากกว่าผู้สูงอายุโดยทั่วไป จึงจำเป็นต้องมีความยืดหยุ่นในชีวิต การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายความยืดหยุ่นของผู้สูงอายุที่อาศัยในสถานสงเคราะห์คนชรากลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ทั้งเพศชายและเพศหญิงที่อาศัยอยู่ในสถานสงเคราะห์คนชราธรรมปกรณ์วัดม่วง และสถานสงเคราะห์คนชราธรรมปกรณ์โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมาได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 92 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ความรู้สึก มีคุณค่าในตนเองแบบสัมภาษณ์การรับรู้ภาวะสุขภาพ แบบสัมภาษณ์การมองโลกในแง่ดี แบบสัมภาษณ์สัมพันธภาพระหว่างบุคคลแบบสัมภาษณ์การสนับสนุนทางสังคม และแบบสัมภาษณ์ความยืดหยุ่นของผู้สูงอายุที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .73, .82, .70, .76, .91 และ .96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความยืดหยุ่นอยู่ในระดับปานกลาง (M = 121.89, SD = 13.07) การสนับสนุนทางสังคม และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองสามารถร่วมกันทำนายความยืดหยุ่นของผู้สูงอายุที่อาศัยในสถานสงเคราะห์ได้ร้อยละ 48.6 (R 2 = .486, p < .01) จากผลการศึกษาครั้งนี้ข้อเสนอแนะว่า พยาบาลและบุคลากรในทีมสุขภาพ ควรมีการออกแบบรูปแบบการพยาบาลเพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความยืดหยุ่น โดยตระหนักถึงการสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ความยืดหยุ่น |
|
dc.subject |
ผู้สูงอายุ -- การออกกำลังกาย |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ |
|
dc.title |
ปัจจัยทำนายความยืดหยุ่นของผู้สูงอายุที่อาศัยในสถานสงเคราะห์คนชรา |
|
dc.title.alternative |
Predictive fctors of resilience mong elderly living in home for the ged |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
Elderly residents of homes for the aged experience the changes in context and situations in their lives under the limitations and rules of these homes. These changes may affect the ability for these elderly residents to adapt themselves in comparison with the elderly in general. So, resilience in their life is crucial for them. This research was a predictive correlation study aimed at determining the predictive factors of resilience among elderly living in homes for the aged. The participants were 92 older adults living in Thammapakorn Wat Muang and Thammapakorn Pho Klang home for the aged at Nakhon Ratchasima Province. They were selected using a simple random sampling technique. Research instruments include the Self-esteem Scale, the Perceived Health Status Scale, the Optimism Scale, the Interpersonal Relations Scale, the Social Support Scale, and the Resilience Scale , with the reliabilities of .73, .82, .70, .76, .91 and .96 respectively. Descriptive statistics, multiple regression were employed for data analyses. The results revealed that the resilience of these senior citizens was at a moderate level (M = 121.89, SD = 13.07). Social support and self-esteem could predict resilience for 48.6 % (R 2 = .486, p<.01) From the study findings, it is suggested that in designing nursing intervention to promote resilience among elderly, nurses and health team professionals should take into account the enhancement of their social support and self-esteem. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การพยาบาลผู้สูงอายุ |
|
dc.degree.name |
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|