dc.contributor.advisor |
สัญชัย เอียดปราบ |
|
dc.contributor.author |
เชาว์ ชนะดี |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T06:54:26Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T06:54:26Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8082 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
วิทยานิพนธ์นี้ได้เสนอการปรับปรุงประสิทธิภาพระบบเก็บเกี่ยวพลังงานคลื่นความถี่วิทยุด้วยโครงสร้างอภิวัสดุและสามารถนํากำลังไฟฟ้าที่ได้ไปเป็นแหล่งจ่ายพลังให้กับโหลดหรืออุปกรณ์ในระบบ Internet of thing (IoT) system ในโครงงานนี้มุ่งเน้นไปที่การศึกษาและการออกแบบโครงสร้างของอภิวัสดุเพื่อใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพระบบเก็บเกี่ยวพลังงานไร้ สายจากคลื่นความถี่วิทยุที่ 2.45 GHz (ISM band) สายอากาศแบบไมโครสตริปถูกนํามาใช้สําหรับวิทยานิพนธ์นี้สําหรับโครงสร้างอภิวัสดุที่ถูกนํามาใช้สําหรับเพิ่มประสิทธิภาพในระบบเก็บเกี่ยวพลังงานไร้สายมี 2 แบบ คือ 1) โครงสร้างอภิวัสดุแบบตัวนําแม่เหล็กเทียม (Artificial magnetic conductor: AMC) ซึ่งถูกออกแบบให้วางไว้ที่ด้านหลังของสายอากาศภาครับ เพื่อใช้ในการสะท้อนกลับในรูปแบบการเสริมเฟสทําให้ความเข้มของการแพร่กระจายคลื่นอัตราการขยายและประสิทธิภาพของสายอากาศเพิ่มขึ้น และ 2)โครงสร้างอภิวัสดุแบบตัวกำทอนแบบวงแหวนแยก Multiple split-ring resonators (MSRR) ซึ่งเป็นโครงสร้างที่มีดัชนีการหักเหเป็นค่าลบ ถูกออกแบบให้วางไว้ด้านหน้าของสายอากาศภาครับ ซึ่งคุณลักษณะของโครงสร้างนี้ช่วยลดการจางหายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สําหรับการออกแบบโครงสร้างอภิวัสดุทั้งสองเราได้จําลองและวิเคราะห์ คุณลักษณะ โดยใช้โปรแกรม CST Microwave studio จากนั้นได้ทําการทดลองด้วยการนําระบบที่มีและไม่มีโครงสร้างอภิวัสดุมาเปรียบเทียบกัน ซึ่งผลลัพธ์แสดงให้เห็นว่า โครงสร้างอภิวัสดุสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพให้กับระบบเก็บเกี่ยวพลังงานไร้สายได้ถึง 26.37% |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า |
|
dc.subject |
ระบบกำหนดรหัสประจำตัวด้วยคลื่นความถี่วิทยา |
|
dc.subject |
คลื่นความถี่วิทยุ |
|
dc.title |
การเพิ่มประสิทธิภาพระบบเก็บเกี่ยวพลังงานไร้สายย่านความถี่วิทยุด้วยวิธีอภิวัสดุ |
|
dc.title.alternative |
Efficiency improvement in rf energy hrvesting system by using metmteril |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This thesis proposes an efficiency improvement in RF energy harvesting system by using metamaterials. This energy harvesting system is applied to store energy in a small battery for supply a load or sensor device in the IoT system. The study and design of the metamaterials is performed to applied with antennas for improvement of efficiency of energy harvesting system at 2.45 GHz (ISM band), there are two types of metamaterial in this work, 1) Artificial magnetic conductor (AMC) with the in-phase reflection property for increment radiation intensity, gain and efficiency of the antenna. It is installed behind the receiver antenna in this work. 2) Multiple splitringresonators (MSRR), it has negative refraction index property. The MSRR is useful to reduce the evanescence of the electromagnetic wave. The suitable placement of MSRR is in front of the receiver antenna. The both of metamaterials are simulated and analyzed by using the CST Microwave studio. In the measurement, the comparison between the caseof the antenna with and without metamaterials is performedfor 2.45 GHz energy harvesting system. From the measurement results, it is found that the efficiency of the energy harvesting system can be improved by using the metamaterials up to 26.37% |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
วิศวกรรมไฟฟ้า |
|
dc.degree.name |
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|