DSpace Repository

การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน

Show simple item record

dc.contributor.advisor ปิยะทิพย์ ประดุจพรม
dc.contributor.advisor ปริญญา เรืองทิพย์
dc.contributor.author บุญน้อม นามดา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการวิจัยและวิทยาการปัญญา
dc.date.accessioned 2023-05-12T06:43:35Z
dc.date.available 2023-05-12T06:43:35Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7999
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561.
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน 2) วิเคราะห์ผลของการใช้กิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ และ 3) วิเคราะห์พฤติกรรมของครูและนักเรียนในขณะจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เนื้อหา และการทดสอบที กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบทดสอบ มาตรวัดเจตคติ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ และการบันทึกวีดิทัศน์ ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. กิจกรรมการเรียนรู้นี้มีความเหมาะสมกับการนำไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน โดยใช้กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน มี 6 ขั้น ได้แก่ 1) กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ 2) กำหนดเกณฑ์ความสำเร็จในการเรียนรู้ 3) ปฏิบัติกิจกรรมและจัดหาหลักฐานการเรียนรู้ 4) ประเมินผลจากหลักฐานการเรียนรู้ 5) ให้ข้อมูลป้อนกลับ และ 6) การสรุปผลการเรียนรู้ 2. การสะท้อนกลับข้อมูลจากนักเรียนบ่งบอกถึงความก้าวหน้าทางการเรียนที่ทำให้บรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ มีความรู้ทางคณิตศาสตร์ดีขึ้น และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 3. พฤติกรรมการเรียนรู้ระหว่างครูกับนักเรียนเป็นแบบเชิงรุก ครูเป็นผู้ฝึก นักเรียนลงมือปฏิบัติจริง มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน สรุปว่า กิจกรรมการเรียนรู้นี้สามารถเปลี่ยนครูและนักเรียนให้มีพฤติกรรมการเรียนการสอนเป็นแบบเชิงรุกที่เหมาะสมต่อการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลให้นักเรียนมีคุณลักษณะ และพฤติกรรมที่นำไปสู่การเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพได้
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา
dc.subject คณิตศาสตร์ -- กิจกรรมการเรียนการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.title การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน
dc.title.alternative The development of mthemticl lerning ctivities for mtthyomsuks 1 students using formtive ssessment process
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this study were 1) to develop mathematics learning activities for Mattayomsuksa 1 students using formative assessment procedures, 2) to analyze the result of implementing mathematics learning activities, and 3) to analyze the behavior of teacher and students while arranging mathematics learning activities. Means, standard deviations, and a content analysis were used to analyze the data. The participants were 33 Mattayomsuksa 1 students, Aranyaprathet Sa Keao of the second semester of academic year 2017. Research instruments included tests, observation forms, attitude scales, interview forms, and a video recording. It was found that: 1. The mathematics learning activities were appropriate for advancing classroom learning, and were composed of six steps: 1) setting learning goals, 2) determining criteria for success, 3) eliciting evidence of learning and interpreting the evidence, 4) identifying the gap, 5) providing feedback, and 6) scaffolding new learning. 2. Feedback from students indicated progress in achieving learning goals, enhancing knowledge, and in the development of positive attitudes. 3. The behavior of mathematics learning between teacher and students evidenced proactive learning, that is, teacher as trainers, students as performers, with positive interactions. In conclusion, the mathematics learning activities developed changed teacher and student behavior, resulting in a proactive learning environment capable of shaping student learning and behavior, likely to lead to quality citizens.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account