dc.contributor.advisor |
ดุสิต ขาวเหลือง |
|
dc.contributor.advisor |
มานพ แจ่มกระจ่าง |
|
dc.contributor.author |
พระฉัฏฐ์พูนชัย ฉัตรทอง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T06:14:52Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T06:14:52Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7918 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาพฤติกรรมของประชาชนที่มาทำกิจกรรมทางศาสนาและท่องเที่ยวที่อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ และเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์การบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและศาสนสถาน ณ อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ การวิจัยแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาปัญหาและความต้องการในการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 169 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ของรัฐ นักท่องเที่ยว พระภิกษุ ผู้ประกอบการค้า และประชาชนในท้องถิ่นที่อาศัยอยู่หรือปฏิบัติหน้าที่อยู่ในจังหวัดจันทบุรีใช้แบบสอบถาม แบบเลือกตอบและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาพฤติกรรมของประชาชนที่มาท่องเที่ยวหรือมาทำกิจกรรมทางศาสนา จำนวน 50 คน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก ขั้นตอนที่ 3 การพัฒนายุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ศาสนสถาน โดยการนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำยุทธศาสตร์ตามกระบวนการพัฒนายุทธศาสตร์ และขั้นตอนที่ 4 การประเมินความเป็นไปได้ในการใช้ยุทธศาสตร์ โดยผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัย พบว่า 1) พฤติกรรมของประชาชนที่เดินทางมาท่องเที่ยวหรือมาทำกิจกรรมทางศาสนาและท่องเที่ยวที่อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ ประชาชนส่วนใหญ่มีความศรัทธาที่มี ต่อรอยพระพุทธบาทความศรัทธาต่อท่านพ่อเขียน และชื่นชมในความสวยงามของธรรมชาติ โดยประชาชนส่วนใหญ่นิยมเดินทางกลางวันด้วยรถยนต์โดยสารเพราะตื่นเต้น ปัญหาและอุปสรรคพบมาก คือ คนมากทางเดินคับแคบ รถยนต์ขึ้นเขาน้อยคอยรถนาน และขาดการประสานงานกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ 2) การพัฒนายุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ศาสนสถาน ณ อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ ได้ร่างยุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ การพัฒนาอุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏให้มีเอกลักษณ์โดดเด่น, การจัดระบบการให้บริการและพัฒนาสาธารณูปโภคให้มีประสิทธิภาพ, ส่งเสริมภาพลักษณ์ธุรกิจ, พัฒนาระบบการบริหารจัดการ, เพิ่มสมรรถนะบุคลากร และสร้างจิตสำนึกและการมีส่วนร่วม |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ |
|
dc.subject |
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการศึกษาและการพัฒนาสังคม |
|
dc.title |
การพัฒนายุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและศาสนสถาน ณ อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฎ |
|
dc.title.alternative |
Strtegic development of nturl resource nd environmntl mngement nd rtigious plce t kho khitchkut ntionl prk |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were to study behaviors of people who attended religious activities and went sightseeing at Khao Khitchakut National Park, and to develop strategies for natural resource and religious place management at Khao Khitchakut National Park. The research was divided into four stages. Stage1: studying problems and needs in managing Khao Khitchakut National Park from 169 samples consisting of government officers, tourists, monks, merchants and local people who lived or worked in Chanthaburi province using a check list questionnaire. The collected data was then analyzed using descriptive statistics. Stage2: studying behaviors of 50 samples who went sightseeing or attended religious activities using an in-depth interview. Stage3: developing strategies for natural resources and religious place management. And, stage4: feasibility evaluation of strategy implementation by the experts and involved people. The results revealed that 1) regarding to behaviors of people who attended religious activities and went sightseeing at Khao Khitchakut National Park, most of them had faith towards Lord Buddha’s Footprint and Provost Thammasorakun (Kian Kunthasaro) as well as admired the beauty of nature. Many of them preferred to travel during daytime by car because it was exciting. Most encountered problems were crowed with people, narrow path, few pick-up trucks driving up the hill which resulting in long time waiting and lack of cooperation between organizations and 2) according to the strategic development for natural resource and religious place management at Khao Khitchakut National Park, six strategies were drafted including: outstanding identity development strategy, effective service system and infrastructure development strategy, business image promotion strategy, development of a management system strategy, increase of personnel ability strategy and creation of awareness and participation strategy. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
การศึกษาและการพัฒนาสังคม |
|
dc.degree.name |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|