DSpace Repository

การพัฒนามาตรฐานการวัดและประเมินผลของครูประถมศึกษา

Show simple item record

dc.contributor.advisor พงศ์เทพ จิระโร
dc.contributor.advisor เกษมสันต์ พานิชเจริญ
dc.contributor.advisor มนตรี แย้มกสิกร
dc.contributor.author นวลอนงค์ โพธิ์ช่วย
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T06:14:51Z
dc.date.available 2023-05-12T06:14:51Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7909
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการวัดและประเมินผลการศึกษาของ ครูประถมศึกษาเพื่อพัฒนามาตรฐานการวัดและประเมินผลของครูประถมศึกษา และเพื่อทดลองใช้และประเมินผลการใช้มาตรฐานการวัดและประเมินผลการศึกษาที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นครูประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 900 คน และกลุ่มตัวอย่างที่หลังใช้จำนวน 60 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ครู แบบสอบถาม แบบบันทึกการประชุมกลุ่มย่อย แบบสัมภาษณ์ผู้บริหาร การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน และสถิติอ้างอิง ผลการวิจัยปรากฏว่า ขั้นตอนที่ 1 ผลการสำรวจสภาพความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวัดและประเมินผล ทัศนคติเกี่ยวกับการวัดและประเมินผล และการปฏิบัติเกี่ยวกับการวัดและ การประเมินผล พบว่า พบว่า ครูมีระดับความรู้ไม่ผ่านเกณฑ์มากที่สุด (38.23%) รองลงมา คือ มีความรู้อ่อน (14.00%) และมีความรู้พอใช้ (17.53%) โดยมีความรู้อยู่ในระดับดีขึ้นไปเพียง (30.24%) และครูโรงเรียนประถมศึกษามีทัศนคติต่อการวัดและการประเมินผลโดยรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนครูโรงเรียนประถมศึกษามีการปฏิบัติในการวัดและประเมินผลโดยรวมอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน ขั้นตอนที่ 2 ผลการพัฒนามาตรฐานการวัดและประเมินผลของครูประถมศึกษา พบว่า มาตรฐาน ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ การวัดและประเมินผลมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ทุกรายการ และทุกรายการมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ความเหมาะสมของมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ พบว่า มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก และมีความสอดคล้องกันทุกรายการ ความเหมาะสมของ เกณฑ์ พบว่า มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก และมีความสอดคล้องกันทุกรายการ และขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้และการประเมินมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์ที่พัฒนาขึ้น พบว่า การประเมินของ ครูโรงเรียนด้านอรรถประโยชน์ด้านความเป็นไปได้ ด้านความถูกต้อง และด้านความเหมาะสมหลังทดลองใช้มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์ พบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ครูประถมศึกษา -- มาตรฐาน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.subject ครูประถมศึกษา -- การประเมิน
dc.title การพัฒนามาตรฐานการวัดและประเมินผลของครูประถมศึกษา
dc.title.alternative The development of mesurement nd evlution stndrds of techer in primrsschool
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objectives of this study are 1) to study the current knowledge regarding educational measurement and evaluation of primary school teachers in order to develop a standardized measurement and evaluation which are suitable for primary school teachers, and 2) to try out the standardized measurement and evaluation which have been developed. The samples in this study were 900 primary school teachers working in schools under the Office of the Basic Education Commission: OBEC. To analyze the result after trying out, another group of 60 primary school teachers were taken part to verify the analysis. Data collection instruments in this study were a teacher interview guide, a questionnaire, a group meeting minute, an administrator interview guide. In this study, basic descriptive statistics were used to analyze the data. At the first stage, this study, alarmingly, reports that 38.23 % of primary school teachers, who could not pass the criteria, lack knowledge related to the educational measurement and evaluation. About 14.00 % of primary school teachers know quite little about educational measurement and evaluation. Around 17.53 % of teachers know about educational measurement and evaluation at a medium level. Only 30.24% of primary school teachers understand educational measurement and evaluation at a high level. At the second stage, this study found that all standard, indicators and criteria of the developed measurement and evaluation are found suitable at a high level and they were found well connected. When considering the suitability of the criteria, this study shows the result at a high level. At the final stage after trying out the developed standardized measurement and evaluation, primary school teachers reveal the results of using the developed standard, indicators, and criteria that the measurement and evaluation are workable, accurate and suitable at a high level.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline วิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account