DSpace Repository

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

Show simple item record

dc.contributor.advisor นัยนา พิพัฒน์วณิชชา
dc.contributor.advisor พรชัย จูลเมตต์
dc.contributor.author นรรัตน์ สายจันทร์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T06:12:53Z
dc.date.available 2023-05-12T06:12:53Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7848
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข การมีภาวะโภชนาการที่ดีสามารถช่วยให้การดำเนินของโรคช้าลงการวิจัยนี้เป็นแบบบรรยาย และหาความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะโภชนาการ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังกลุ่มตัวอย่างคัดเลือกโดยวิธีการสุ่ม แบบหลายขั้นตอนจำนวน 120 คน เป็นผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาที่คลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดนครราชสีมา เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558วิจัยประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดระดับความรุนแรงของโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังแบบประเมินภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุแบบสอบถามการได้รับความช่วยเหลือเกี่ยวกับการรับประทานอาหารแบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุของไทยและแบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .83, .82, .93 และ .87 ตามลําดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพัน์ของสเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 65.0 มีภาวะโภชนาการอยู่ในระดับปกติ ร้อยละ 31.7 มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการและร้อยละ 3.3 มีภาวะทุพโภชนาการ ระดับความรุนแรงของโรคและความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับโรคมีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r= -.28, p .05) ผลการวิจัยนี้ให้ข้อเสนอแนะว่า พยาบาลและผู้มีหน้าที่ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุควรนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนากิจกรรมการปฏิบัติการพยาบาลโดยเน้นการดูแลเพื่อลดความรุนแรงของโรคและให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่เหมาะสม เพื่อส่งผลต่อการมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมในผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
dc.language.iso th
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ปอดอุดกั้นเรื้อรัง -- ผู้ป่วย
dc.subject Health Sciences
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
dc.subject ปอดอุดกั้นเรื้อรัง -- โรค
dc.title ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
dc.title.alternative Fctors relted to nutritionl sttus in older dults with chronic obstructive pulmonry disese
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative Chronic obstructive pulmonary disease is a major public health problem. good nutrition status can slow down the progression of the disease. this descriptive correlational study aimed to examine nutritional status and factors related to the nutritional status in older adults with chronic obstructive pulmonary disease (COPD). A multi-stage random sampling was used to reccruite a sample of 120 older adults with COPD who visited the COPD clinic at community hospitals in Nakhon Ratchasima province. Data collection was carried out from September to November 2017. Research instruments included a demographic data interview form, the severity of COPD’s scale, the nutritional status assessment for aging, a questionnaire of food intake assist for COPD, the Thai geriatric depression’s scale, and a questionnaire of food intake knowledge for OPD. Their reliability were .83, .82, .93and .87 respectively. Data were analyzed by using frequency, percent, mean, standard deviation, and Spearman’s correlation coefficients. The results showed that 65.0% of the participants were at a normal level of nutritional status, 31.7% were at risk for malnutrition, and 3.3% were malnutrition. Severity of illness and knowledge about appropriate food intake were significantly correlated withnutritional status in older adults with COPD (r= -.28, p<.01 andr= .21, p<.05, respectively). However, income adequacy, assistance with food intake and depression were found no relationship with the nutritional status (p> .05). These findings suggest that nurses and health care providers for elderly should utilize to develop nursing practice activities by emphasizing on caring to diminish illness severity and provide knowledge about proper food consumption. Consequently, suitable nutritional status in older adults with COPD would be achieved.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การพยาบาลผู้สูงอายุ
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account