dc.contributor.advisor |
นิสากร กรุงไกรเพชร |
|
dc.contributor.advisor |
สุวรรณา จันทร์ประเสริฐ |
|
dc.contributor.author |
วันวิสาข์ สนใจ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T06:12:52Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T06:12:52Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7839 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเสียหน้าที่ระยะที่ 2 สามารถเปลี่ยนกลับไปเป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเสียหน้าที่ระยะที่ 1 ได้ หากมีการจัดการตนเองเหมาะสม การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจัดการตนเองต่อพฤติกรรมสุขภาพ และสมรรถภาพไตของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเสียหน้าที่ระยะที่ 2กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และ/ หรือโรคเบาหวานที่มีภาวะไตเสียหน้าที่ระยะที่ 2 จํานวน 60คน สุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 คน ด้วยวิธีจับคู่ตามอายุ เพศ ระดับการศึกษา และระยะเวลาที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและ/ หรือโรคเบาหวาน กลุ่มทดลองได้รับกิจกรรมการจัดการตนเองเป็นเวลา 12 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลแบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพ และแบบบันทึกผลการตรวจเลือด ค่าซีรั่มครีเอตินิน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและการทดสอบค่าทีแบบอิสระ (Independent t-test) ผลการทดลองพบว่า หลังการทดลองกลุ่มทดลองมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพดีกว่ากลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองมีการเปลี่ยนแปลงค่าซีรั่มครีเอตินินมากกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดังนั้น พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนจึงควรประยุกต์แนวคิดการจัดการตนเองในการส่งเสริมสุขภาพให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเสียหน้าที่ระยะที่ 2 ให้มีการรับประทานอาหารการออกกำลังกายและการใช้ยาอย่างเหมาะสม เพื่อให้สามารถฟื้นฟูสมรรถภาพไตได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
โรคเรื้อรัง -- ผู้ป่วย -- การดูแล |
|
dc.subject |
โรคเรื้อรัง |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน |
|
dc.subject |
Health Sciences |
|
dc.title |
ผลของการจัดการตนเองต่อพฤติกรรมสุขภาพและสมรรถภาพไตของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเสียหน้าที่ระยะที่ 2 |
|
dc.title.alternative |
The effects of self-mngement on helth behviors nd kidney function of chronic illness ptients with chronic kidney injury stge 2 |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
If the person with chronic kidney injury stage 2 had appropriate self-management, the kidney function could be recovered and chronic kidney injury could change to stage 1. The objectives of this quasi-experimental research were to examine the effects of self-management on health behaviors and kidney function of chronic illness people with chronic kidney injury stage 2. The sample included 60 hypertension and/ or diabetic people with chronic kidney injury stage 2. The sample were randomly assigned into experimental and control group equally using match-paired by age, sex, education, and period of hypertension and/or diabetic. The experimental group received self-management program 12 weeks. The data collection was using demographic record form, self-management behaviors questionnaire and serum creatinine record. The descriptive statistics and independent t-test were used to analyze data. The results revealed that after the experiment, health behaviors and serum creatinine of those in the experimental group were higher changed than those in the control group with the significant level of .05. Therefore, community nurse practitioners should apply self-management program to promoteon health behaviors and of people with chronic kidney injury stage 2 to control eating, exercise and drug use behaviors in order to improve the kidney function effectively. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน |
|
dc.degree.name |
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|