DSpace Repository

ผลของโปรแกรมฟื้นสภาพร่างกายแบบมีการเคลื่อนไหวในนักกีฬาว่ายน้ำชายในช่วงการเจริญเติบโต

Show simple item record

dc.contributor.advisor บำรุงศักดิ์ เผื่อนอารีย์
dc.contributor.advisor นิรอมลี มะกาเจ
dc.contributor.advisor สุกัญญา เจริญวัฒนะ
dc.contributor.author ศิริพงศ์ ศรีภักดี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned 2023-05-12T06:07:57Z
dc.date.available 2023-05-12T06:07:57Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7797
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลการใช้โปรแกรมฟื้นสภาพร่างกายแบบมีการเคลื่อนไหวในน้ำ และบนบกที่ส่งผลต่อปริมาณกรดแลคติกและประสิทธิภาพในการว่ายน้ำ หลังจากการว่ายน้ำท่ากบระยะทาง 200 เมตรกลุ่มตัวอย่าง นักกีฬาว่ายน้ำท่ากบระดับเยาวชน เพศชาย จำนวน 11 คน อายุเฉลี่ย 14 ± 1.4 ปีน้ำหนัก 58.79 ± 11.34 กิโลกรัม ส่วนสูง 166.45 ± 7.58 เซนติเมตร มีการบันทึกเวลาในการว่ายน้ำท่ากบระยะทาง 100 เมตร และ 200 เมตร ในการแข่งขันจริงก่อนการทดสอบ 1 สัปดาห์ (100 เมตร= 84.56±8.72 วินาที 200 เมตร = 188.52 ±21.87 วินาที) นักกีฬาทำการทดสอบว่ายน้ำ ท่ากบระยะทาง 200 เมตร เต็มความสามารถจากนั้นใช้โปรแกรมฟื้นสภาพร่างกายแบบมีการเคลื่อนไหวด้วยการว่ายน้ำ และโปรแกรมฟื้นสภาพร่างกาย แบบมีการเคลื่อนไหวบนบกเป็นเวลา 25 นาทีหลังจากใช้โปรแกรมฟื้นสภาพพัก 1 ชั่วโมงและ ทดสอบว่ายน้ำสปริ้นท่ากบระยะทาง 100 เมตร มีการเจาะเลือดในนาทีที่ 5 หลังจากการว่ายน้ำท่ากบระยะทาง 200 เมตร และในนาทีที่ 10 นาทีที่ 20 และนาทีที่ 25 ในระหว่างใช้โปรแกรมฟื้นสภาพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา ทดสอบค่าเฉลี่ยแบบจับคู่ (Paired sample t-test) วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ (Analysis of variance with repeated measure) และเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของตูกีย์ (Tukey post hoc) ผลการวิจัยพบว่า ปริมาณกรดแลคติกในเลือดหลังจากว่ายน้ำท่ากบระยะทาง 200 เมตร เต็มความสามารถไม่แตกต่างกันในกลุ่มตัวอย่างที่ใช้โปรแกรมฟื้นสภาพร่างกายแบบมีการเคลื่อนไหวทั้ง 2 วิธีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ปริมาณกรดแลคติกในเลือดในนาทีที่ 10 ไม่แตกต่างกัน ระหว่างใช้โปรแกรมฟื้นสภาพทั้ง 2 วิธี (3.77 ± 1.34 เปรียบเทียบกับ 4.37 ± 1.24 มิลลิโมลต่อลิตร) ปริมาณกรดแลคติกในเลือดระหว่างนาทีที่ 20 และนาทีที่ 25 หลังจากใช้โปรแกรมฟื้นสภาพร่างกายแบบมีการเคลื่อนไหวในน้ำสามารถลดปริมาณกรดแลคติกในเลือดได้เร็วกว่าการฟื้นสภาพร่างกายแบบมีการเคลื่อนไหวบนบก (1.81±0.77 เปรียบเทียบกับ 2.52±0.52 มิลลิโมลต่อลิตรและ 1.24±0.41 เปรียบเทียบกับ 1.76±0.39 มิลลิโมลต่อลิตร)
dc.language.iso th
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ร่างกาย
dc.subject ร่างกาย -- การดูแลและสุขวิทยา
dc.subject การว่ายน้ำ
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา
dc.title ผลของโปรแกรมฟื้นสภาพร่างกายแบบมีการเคลื่อนไหวในนักกีฬาว่ายน้ำชายในช่วงการเจริญเติบโต
dc.title.alternative The cross-sectionl study of ctive recovery progrms on the swimmer in growing boys
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This experimental research aimed to compare the results between 2 active recovery programs, self-prescribed and land based-that effected blood lactate and performance after 200 meter of breaststroke. 11 Adolescent male breaststroke swimmers (age 14 ± 1.4 years, weight 58.79 ± 11.34 kg. and height 166.45+(-7.85) cm) participated in this study. There were records of their 100 m. and 200 m. breaststroke in the competition a week before the test took place (100 m. = 84.56 ± 8.72 second; 200 m. = 188.52 ± 21.87 second). Each swimmer performed 200 m. maximal test, then was tested under two different active recovery programs either a selfprescribed or land based program for 25 minutes. An hour later, the swimmer performed 100 m. maximal sprint breaststroke. There were blood tests at the 5th minute after 200 m. race and at the 10th, 20th and 25th minute during the recovery program. Descriptive statistic, Pair sample t-test, Analysis of variance, Repeated measure design and Turkey post hoc multiple comparison were used in this research to analyzed the data. The result showed post [La-] (6.95 ± 1.93 vs 6.99 ± 1.74 mmol 1-1) of the first 200 m. was not statistically significant difference between self-prescribed and land based active recovery (P>.05). Blood lactate during the 10th minute recovery period was not difference between the two active recovery conditions (3.77 ± 1.34 vs 4.37 ± 1.24 mmol 1-1, respectively). Blood lactate during the 20th and 25th minute after self-prescribed program decreased faster than land based active recovery (1.81 ± 0.77 vs 2.52 ±0.52 and 1.24 ± 0.41 vs 1.76 ± 0.39 mmol 1-1, respectively).
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline วิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account