dc.contributor.advisor |
สันติพงษ์ ปลั่งสุวรรณ |
|
dc.contributor.advisor |
นภพร ทัศนัยนา |
|
dc.contributor.advisor |
ประวิทย์ ทองไชย |
|
dc.contributor.author |
วีระศักดิ์ แก้วทรัพย์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T06:07:56Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T06:07:56Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7795 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรูปแบบการจัดการกิจกรรมเรือพายเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงกีฬาและความเข้มแข็งของชุมชน เป็นการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมใช้กระบวนการแบบ PAOR โดยมีวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้ศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างจากผู้ให้ข้อมูลการสนทนากลุ่มย่อยการสังเกตอย่างมีส่วนร่วม ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย 1) กลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการแข่งขันเรือพายในจังหวัดน่าน 2) กลุ่มนักวิชาการด้านการท่องเที่ยวและวัฒนธรรมจังหวัดน่าน ร่วมกับกลุ่มผู้ที่มีความคุ้นเคยและใช้ประโยชน์จากแหล่งท่องเที่ยวหรือผู้มีความรู้ความเข้าใจในทรัพยากรการจัดการแข่งขันเรือพายและการท่องเที่ยว 3) สมาชิกในชุมชนนำข้อมูลที่ได้จากการสังเกต สัมภาษณ์ มาวิเคราะห์เพื่อนำมาสร้างรูปแบบกิจกรรมเรือพายเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงกีฬาและความเข้มแข็งชุมชน ผลการวิจัยพบว่า ชุมชนมีส่วนร่วมกันในทุกขั้นตอนของการจัดทำรูปแบบประกอบด้วย กระบวนการบริหารจัดการกิจกรรม 4 ด้าน คือ 1) ด้านการวางแผน จำนวน 10 องค์ประกอบ คือ กำหนดชุมชนหลัก กำหนดผู้รับผิดชอบเป้าหมายวัตถุประสงค์แผนการดา เนินงาน กิจกรรม แผนด้านบุคลากรบูรณาการร่วมกัน ภายในและภายนอกชุมชน งบประมาณ ด้านสถานที่เหมาะสมกับการจัดกิจกรรม ด้านการตลาด และชุมชนร่วมกันสะท้อนผล 2) ด้านการจัดองค์กร จำนวน 5 องค์ประกอบ คือ ชุมชนร่วมกันกำหนดและออกแบบกิจกรรม โครงสร้างชมรมเรือพายกำหนดคุณสมบัติ และจัดอบรมคณะกรรมการดำเนินการ 3) ด้านการนำไปปฏิบัติจำานวน 3 องค์ประกอบ คือกลุ่มเป้าหมายกระบวนการจัดกิจกรรม และชุมชนได้รับผลประโยชน์จากกิจกรรม 4) ด้านการควบคุม จำนวน 3 ด้าน คือ ชุมชนร่วมกันสะท้อนผลจัดทำคู่มือและการประเมินโดยชุมชนและส่วนประสมการตลาด มีอยู่ 3 องค์ประกอบ ด้านการประชาสัมพันธ์กำหนดหนดราคาค่าบริการด้านการท่องเที่ยวการสร้างและการนำเสนอภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชน มีความตระหนักถึงการทำงานและการเป็นเจ้าของชุมชนร่วมกันในการแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางของชุมชนร่วมกัน เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
การท่องเที่ยว -- การจัดการ |
|
dc.subject |
การท่องเที่ยวเชิงกีฬา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา |
|
dc.subject |
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) |
|
dc.subject |
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ |
|
dc.title |
รูปแบบการจัดกิจกรรมเรือพายเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงกีฬาและความเข้มแข็งของชุมชน |
|
dc.title.alternative |
Mngement model for longbot ctivity to promote the sport tourism nd strengthen community |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this study was to create a management model for longboat activity to promote sport tourism and strengthen a community. The present study was Participatory Action Research: PAR, using a PAOR process, the data of which was collected by user relevant secondary data, semi-structured interview, including the following: 1) a team of longboat specialists having been involved in longboat racing in Nan province, Thailand; 2) a group of academia from the Tourism and Cultural Authority of Nan, Thailand, in collaboration with a team gaining benefits from the tourism or understanding longboat racing and tourism management; and 3) the data analyzed by members of the community The results of the study yielded a managerial model consisting of four components of the management process which were: 1) ten aspects of planning-community identification, the framework for collaborating for community-partnership collaboration, a host plan, manager and committee recruitment, goal and objective establishment, action plan for activities, personnel organization, budgeting, facilities and equipment, marketing activity management, communication reflection; 2) five components of organization-establishing and grouping tasks including activities designed by the community, the longboat club and the committee; 3) three components of implementation-target group, activity process, and returns to the community; 4) three components of control-community reflection, handbook and community assessment. However, Marketing Mix included mixed factors, i.e. promotion of public relations, service pricing and ecotourism encouragement. This could help community members be aware of community’s problems and the sense of belonging. They would also like to share their directions for the community’s management. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
วิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา |
|
dc.degree.name |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|