dc.contributor.advisor |
นฤพนธ์ วงศ์จตุรภัทร |
|
dc.contributor.advisor |
เสกสรรค์ ทองคำบรรจง |
|
dc.contributor.author |
กิตติมา เทียบพุฒ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T04:24:50Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T04:24:50Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7786 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตรวจสอบความเที่ยงตรงและความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดล ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของกิจกรรมทางกายของนักศึกษามหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัย อายุระหว่าง 18-25 ปี จำนวน 400 คน เป็นเพศชาย 188 คน และเพศหญิง 212 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือในการวิจัยใช้แบบสอบถาม 6 ฉบับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน ตรวจสอบความเที่ยงตรงของโมเดลและความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลโดยเทคนิคการ วิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างผลการวิจัยพบว่า 1) ความสัมพันธ์ของโมเดลมีค่าอยู่ระหว่าง 0.21-0.57 เป็นความสัมพันธ์ในระดับต่ำ จำนวน 8 คู่ ความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง จำนวน 32 คู่และความสัมพันธ์ในระดับสูง จำนวน 16 คู่, 2) โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมการมีกิจกรรมทางกายตามสมมติฐานข้อที่ 1 และสมมติฐานข้อที่ 2 มีความสอดคล้องเชิงประจักษ์ในระดับดี โดยโมเดล ตามสมมติฐานข้อ 2 สอดคลอ้งกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดีกว่าโมเดลตามสมมติฐานข้อที่ 1, 3) ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุตามโมเดลสมมติฐานข้อที่ 1 ทัศนคติต่อกิจกรรมทางกาย (APA) ส่งอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการมีกิจกรรมทางกาย (PAB) ส่วนการสนับสนุนทางสังคม (SS) และสิ่งแวดล้อมบริเวณรอบตัว (NS) ส่งอิทธิพลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อพฤติกรรมการมีกิจกรรมทางกาย (PAB) ขนาดอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.19** 0,55**และ 0.33** ตามลำดับ ส่วนการรับรู้ความสามารถการเรียนรู้ทางกาย (PPL) ส่งอิทธิพลทางอ้อมขนาดอิทธิพลเท่ากับ 0.12** ตัวแปรทั้งหมดร่วมกันอธิบายความแปรปรวน พฤติกรรมการมีกิจกรรมทางกาย (PAB) ได้ร้อยละ 62 ส่วนโมเดลสมมติฐานข้อที่ 2 การรับรู้ความสามารถ การเรียนรู้ทางกาย (PPL) และทัศนคติต่อกิจกรรมทางกาย (APA) ส่งอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการมีกิจกรรมทางกาย (PAB) ขนาดอิทธิพลเท่ากับ 0.82**และ 0.12** ตามลำดับ ส่วนการสนับสนุนทางสังคม (SS) กับสิ่งแวดล้อมบริเวณรอบตัว (NS) ส่งอิทธิพลทางอ้อมต่อพฤติกรรมการมีกิจกรรมทางกาย (PAB) ขนาดอิทธิพลเท่ากับ 0.57** และ 0.34** ตามลำดับ ตัวแปรทั้งหมดร่วมกันอธิบายความแปรปรวน พฤติกรรมการมีกิจกรรมทางกาย (PAB) ได้ร้อยละ 76, 4) โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุพฤติกรรมการมีกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกายไม่แปรเปลี่ยนระหว่างเพศชายและเพศหญิง สรุปผลโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมการมีกิจกรรมทางกายมีความเที่ยงตรง เชิงโครงสร้าง โมเดลสามารถนำ ไปใช้กับการส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้กับนักศึกษาในมหาวิทยาลัยได้ |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
การออกกำลังกาย |
|
dc.subject |
โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ |
|
dc.subject |
ความเที่ยง |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา |
|
dc.title |
การวิเคราะห์ความเที่ยงตรงและความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลเชิงสาเหตุของกิจกรรมทางกายของนักศึกษามหาวิทยาลัย |
|
dc.title.alternative |
Vlidtion nd invrince nlysis of cusl model mong physicl ctivity in university students |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of the study were to develop and to analyze the validation and invariance of causal relationship model of physical activity among university students. The participants were 400 university students (188 male students and 212 female students) aged between 18-25 years old, selected by the multi-stage random sampling method. Six questionnaires were used as test instruments. The Structural Equation Modeling (SEM) was used to analyze the primary data, validate the model and test the invariance of the model. The results revealed that 1) the relationship of the model among all pairs of variables were between 0.21 and 0.57. There were 8 pairs of low relationship model of physical activity behaviors according to the hypothesis, it showed correspondence with the empirical data. The model based on the hypothesis 2 corresponded to the empirical data better than the hypothesis 1. 3) The causal relationship based on the hypothesis model 1, the attitude toward physical activity (APA), directly influenced the physical activity behavior (BPA). Total influences were 0.19, 0.55 and 0.33, respectively. The physical literacy (PPL) indirectly influenced the physical activity behavior (BPA) with the size effect of 0.12. All influenced variables shared the variance of physical activity behavior (BPA) by 62%. For the hypothesis 2, physical literacy (PPL) and attitude toward physical activity (APA) had a direct effect on physical activity behavior (BPA). The effect size was 0.82 and 0.12, respectively. Social support (SS) and the neighborhood (NS) influence were 0.57 and 0.34, respectively. All variables accounted for 76% variance in physical activity behavior (BPA) 4) The causal relationship model of physical activity behavior showed no significant difference between male and female students. In conclusion, the structural causal relationship model of physical activity among university students is accurate. The model can be applied to promote physical activity behavior among university students. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
วิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา |
|
dc.degree.name |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|