dc.contributor.advisor |
วรรณี เดียวอิศเรศ |
|
dc.contributor.advisor |
อุษา เชื้อหอม |
|
dc.contributor.author |
ชุลีพร การะภักดี |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T04:24:49Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T04:24:49Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7782 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การมีญาติผู้หญิงคอยดูแลผู้คลอดวัยรุ่นครรภ์แรกอาจช่วยลดความกลัวการคลอด และส่งเสริมให้มีประสบการณ์การคลอดที่ดี การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความกลัวการคลอดและการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของผู้คลอดวัยรุ่นครรภ์แรกที่ได้รับ โปรแกรมการสนับสนุนในระยะคลอดโดยญาติผู้หญิงกบผู้คลอดที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็ นผู้คลอดวัยรุ่นครรภ์แรกที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การคัดเข้าและมาคลอดที่โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จังหวัดนครสวรรค์ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ -พฤษภาคม พ.ศ. 2561 จํานวน 47 คน เป็ นกลุ่มควบคุม 22 คน กลุ่มทดลอง 25 คน กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ กลุ่มทดลองได้ทั้งการดูแลตามปกติและโปรแกรมการสนับสนุนในระยะคลอดโดยญาติผู้หญิง รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความกลัวการคลอด และแบบประเมินการรับรู้ประสบการณ์การคลอด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และทดสอบความ แตกต่างข้อมูลด้วยสถิติไคสแควร์ ฟิชเชอร์เอ็กแซกท์ และการทดสอบทีแบบอิสระ ผลการวิจัยพบว่า ผู้คลอดวัยรุ่นในกลุ่มทดลองส่วนใหญ่เลือกมารดาตนเองเป็นผู้ให้การสนับสนุนในระยะคลอด กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความกลัวการคลอดตํ่ากว่ากลุ่มควบคุมทั้งในระยะปากมดลูกเร็ว (t45 = 3.61, p< .01) และตลอดระยะเวลาของการคลอด (t45 = 5.95, p< .001) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ และมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้ประสบการณ์การคลอดทางบวกสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (t45 = -3.86, p < .001) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ และมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้ประสบการณ์การคลอดทางบวกสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (t45 = -3.86, p < .001) จากผลการวิจัยเสนอแนะว่า พยาบาลห้องคลอดควรจัดให้ญาติผู้หญิงเข้าไปให้การสนับสนุนดูแลผู้คลอดในระยะคลอดโดยเฉพาะกลุ่มที่เป็นวัยรุ่นครรภ์แรก เพื่อช่วยลดความกลัว และส่งเสริมการรับรู้ประสบการณ์การคลอดที่ดีแก่ผู้คลอด |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
การคลอด -- การดูแล |
|
dc.subject |
การคลอด |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการผดุงครรภ์ |
|
dc.title |
ผลของโปรแกรมการสนับสนุนในระยะคลอดโดยญาติผู้หญิงต่อความกลัวการคลอดและการรับรู้ประสบการณ์การคลอดในผู้คลอดวัยรุ่นครรภ์แรก |
|
dc.title.alternative |
Effects of lbor support by femle reltive progrm on fer of childbirth nd perception of childbirth experience mong first time dolescent mothers |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
First-time adolescent parturients having a labor support from their female relatives might help parturients decrease their childbirth fear and contribute their positive childbirth experience. Purpose of this quasi experimental research was to compare fear of childbirth and perception of childbirth experience between first time adolescent mothers who received labor support by a female relative program and those who received only routine nursing care. Participants were 47 of first-time adolescent mothers who met study inclusion criteria and had given birth at Sawanpracharak hospital duringFebruary to May 2018. Twenty two participantswere assigned into control group, 25 were assigned into experimental group. Control group received only routine nursing care, experimental group received both routine care and labor support by a female relative program. Data were collected by demographic questionnaire, delivery fear scale, and perception of childbirth experience questionnaire. Data were analyzed by descriptive statistic. Data comparison were analyzed by Chi-square test, Fisher’s exact test, and independent t-test. Study results showed that adolescent mothers in the experimental group chose their mothers to provided labor support. Experimental group had mean score of childbirth fear during active phase (t45 = 3.61, p< .01) and throughout delivery process (t45 = 5.95, p< .001) significantly lower than control group. Also, experimental group had mean score of perceived positive childbirth experience significantly higher than control group (t45 = -3.86, p< .001) Findings suggest that midwives mightoffer female relatives to provide labor support for parturients especially for first-time adolescent mothers. It would help them decrease their childbirth fear and enhance their perceived positive childbirth experience. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การผดุงครรภ์ |
|
dc.degree.name |
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|