dc.contributor.advisor |
เขมารดี มาสิงบุญ |
|
dc.contributor.advisor |
นิภาวรรณ สามารถกิจ |
|
dc.contributor.author |
สำเภา แก้วโบราณ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T04:24:40Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T04:24:40Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7745 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
วัยรุ่นที่มีภาวะอ้วนมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 หากมีพฤติกรรมป้องกัรโรคเบาหวานที่ไม่เหมาะสมการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวานในวัยรุ่นที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานที่มีภาวะอ้วนในเขตจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 85 รายคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามพฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวานแบบสอบถามการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน และแบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานอยู่ในระดับปานกลาง มีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและการสนับสนุนทางสังคมอยู่ในระดับดีและมีพฤติกรรม การป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อยู่ในระดับดี(M = 101.40, SD = 7.37) โดยปัจจัยการรับรู้ ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน (β =.36, p < .001) และเพศหญิง (β =-.22, p < .05) สามารถร่วมทำนายพฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของวัยรุ่นที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานได้ ร้อยละ 24.8 (R 2 =.248, F = 6.582, p < .001) ดังนั้นการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 สำหรับวัยรุ่นเพศหญิงที่เป็นกลุ่มเสี่ยงพยาบางควรเน้นให้วัยรุ่นกลุ่มนี้รับรู้โอกาสเสี่ยง มีความรู้ และการปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
เบาหวาน |
|
dc.subject |
เบาหวาน -- โรค -- การป้องกันและควบคุม |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ |
|
dc.title |
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวานในวัยรุ่นที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานในจังหวัดสมุทรปราการ |
|
dc.title.alternative |
Fctors predicting dibetes prevention behviors mong dolescents t risk for type ii dibetes in smutprkn province province |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
Adolescents with obesity are high risk of developing type 2 diabetes if they have inappropriate diabetes prevention behaviors. This study aimed to examine factors influencing diabetic preventive behaviors among adolescents at risk for type II diabetes in Samutprakan province. Eighty Five obese adolescents were recruited by a cluster random sampling. Research instruments included demographic record form, Diabetes Preventive Behaviors Questionnaire, Perceived Susceptibility of Diabetes Questionnaire, Perceived Social Support Questionnaire, and Diabetes Knowledge Questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics and multiple regression analysis. Results revealed that adolescents at risk for type II diabetes had mean scores of diabetes preventive behaviors score in high level (M = 101.40, SD = 7.37). Perceived susceptibility of diabetes (β =.36, p<.001) and female (β =-.22, p<.05) combined could explain 24.8 % of variance in diabetes preventive behaviors among this population (R 2 =.248, F = 6.582, p<.001). Therefore, nurses should enhance susceptibility of diabetes perception, knowledge and health behaviors related to Type II diabetes prevention among at risk female adolescents |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การพยาบาลผู้ใหญ่ |
|
dc.degree.name |
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|