DSpace Repository

ผลโปรแกรมส่งเสริมพัฒนาการอ่านต่อพฤติกรรมของมารดาในการส่งเสริมพัฒนาการทารกเกิดก่อนกำหนด

Show simple item record

dc.contributor.advisor นฤมล ธีระรังสิกุล
dc.contributor.advisor ศิริยุพา สนั่นเรืองศักดิ์
dc.contributor.author จินตนา เกษมศิริ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T04:24:39Z
dc.date.available 2023-05-12T04:24:39Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7741
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract ทารกเกิดก่อนกำหนด เป็นกลุ่มทารกที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดปัญหาพัฒนาการล่าช้าการส่งเสริมให้มารดามีพฤติกรรมในการส่งเสริมพัฒนาการทารกเกิดก่อนกำหนดได้อย่างเหมาะสม จึงเป็นเรื่องที่จำเป็น การวิจัยครั้งนี้เป็นแบบกึ่งทดลองสองกลุ่มวัดซ้ำหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมพัฒนาการต่อพฤติกรรมของมารดาในการส่งเสริมพัฒนาการ ของทารกเกิดก่อนกำหนด กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกแบบสะดวก จำนวน 20 ราย เป็นมารดาของบุตรทารกคนแรกที่เกิดก่อนกำหนดเมื่อมารดามีอายุครรภ์ระหว่าง 28-36 สัปดาห์ ขณะเก็บข้อมูลทารกมีอายุที่ปรับแล้วตั้งแต่ 0-2 เดือน และเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิดป่วยในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2561 แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 10 ราย มารดากลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมพัฒนาการส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบสอบถามพฤติกรรมของมารดาในการส่งเสริมพัฒนาการ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .84 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา การทดสอบไคสแควร์การทดสอบทีแบบสองกลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า ในกลุ่มทดลองคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมของมารดาในการส่งเสริมพัฒนาการของทารกเกิดก่อนกำหนดระยะหลังการทดลองและระยะติดตาม 1 เดือน สูงกว่า ระยะก่อนการทดลองและภายหลังจากการได้รับโปรแกรม กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมของมารดาในการส่งเสริมพัฒนาการของทารกเกิดก่อนกำหนดสูงกว่าในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p< .05) ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมส่งเสริมพัฒนาการนี้มีประสิทธิภาพพยาบาลที่ดูแลมารดาและทารกเกิดก่อนกำหนดสามารถนำไปใช้เพื่อส่งเสริมให้มารดามีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการส่งเสริมพัฒนาการทารกเกิดก่อนกำหนด
dc.language.iso th
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ทารกคลอดก่อนกำหนด
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก
dc.title ผลโปรแกรมส่งเสริมพัฒนาการอ่านต่อพฤติกรรมของมารดาในการส่งเสริมพัฒนาการทารกเกิดก่อนกำหนด
dc.title.alternative Effects of the developmentl promoting progrm on mothers’ behvior to promote development of premture infnts
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative Premature newborn is a group of babies with high risk for developmental delays. Promoting maternal behavior on promoting development of premature infants is cricial. The purpose of this quasi-experimental two-group repeated post-intervention is to examine effects of the developmental promoting program on mothers’ behavior to promote development of their premature infants. A convenience sampling was used to recruit 20 mothers with first-born baby prematurity at gestational age between 28-36 weeks. During the data collection, the babies were corrected age 0-2 months and admitted at a Sick Newborn Unit of a hospital in Bangkok. Data were carried out from December 2017 to March 2018. The participants were assigned into the experimental and the control group of 10 mothers for each group. The experimental group received the developmental promoting program while the control group received usual care. The research instruments for collecting data consisted of a demographic questionnaire and the maternal behavior on promoting development questionnaire with its reliability of .84 Data were analyzed by using descriptive statistics, Chi-square test, Independent t-test and repeated measures ANOVA. The results revealed that within the experimental group, a total mean score of maternal behavior on promoting development of premature infants at both post-intervention and one-month follow-up significantly higher than prior to beginning the intervention. After completion of the intervention, the experimental group had the total mean score of maternal behavior significantly higher than those in the control group (p< .05). These findings indicate that this developmental promoting program is effective. Nurses who responsible to care for mothers and premature babies could utilize to promote proper mothers’ behavior to on promote development of premature infants.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การพยาบาลเด็ก
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account