dc.contributor.advisor |
สถาพร พฤฑฒิกุล |
|
dc.contributor.author |
ฐปกร รักษาศีล |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T04:24:36Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T04:24:36Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7721 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะของผู้บริหารที่พึงประสงค์ในทัศนะของครู วิทยาลัยการอาชีพ ภาคตะวันออก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำแนกตามสถานภาพ การทำงาน ขนาดของสถานศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติหน้าที่การสอนในวิทยาลัยการอาชีพ ภาคตะวันออก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา กำหนดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของ Krejcie and Morgan (1970, pp. 608-609) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 201 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) เครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ อยู่ระหว่าง .31-.84 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .96 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณลักษณะของผู้บริหารที่พึงประสงค์ในทัศนะของครูวิทยาลัยการอาชีพ ภาคตะวันออก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. คุณลักษณะของผู้บริหารที่พึงประสงค์ในทัศนะของครูวิทยาลัยการอาชีพ ภาคตะวันออก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำแนกตามสถานภาพการทำงาน โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา ด้านการยอมรับนับถือ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจำแนกตามประสบการณ์การทำงาน ด้านการมี ความคิดริเริ่ม และด้านการรู้จักปรับปรุงแก้ไข แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ผู้บริหารการศึกษา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา |
|
dc.subject |
วิทยาลัยการอาชีพ -- การบริหาร |
|
dc.subject |
ครูอาชีวศึกษา |
|
dc.title |
คุณลักษณะของผู้บริหารที่พึงประสงค์ในทัศนะของครูวิทยาลัยการอาชีพ ภาคตะวันออก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา |
|
dc.title.alternative |
Administrtors’ desirble chrcteristics ccording to opinions of techers in industril nd community eduction colleges in the estern region under the office of vctionl eduction commission |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research was to investigate desirable characteristics of administrators according to opinions of teachers in Industrial and Community Colleges in the Eastern Region under the Office of Vocational Education Commission, classified by work status, school size, and work experience. The sample included teachers teaching in Industrial and Community Colleges in the Eastern Region under the Office of Vocational Education Commission. Based on Krejcie and Morgan's Table of Sample Size (1970, pp. 608-609), and then derived by means of stratified random sampling, the sample of the study consisted of 201 teachers. A five-level rating scale questionnaire, having the discriminating power of items between .31 and .84 and the reliability at .96, was used as an instrument for data collection. Mean, Standard Deviation, t-test, and One-way ANOVA were statistical devices employed for the data analysis. The findings revealed as follows: 1. The level of desirable characteristics of administrators according to opinions of teachers in Industrial and Community Colleges in the Eastern Region under the Office of Vocational Education Commission, both as a whole and in each particular aspect, was found at a high level. 2. There was no statistically significant difference regarding the desirable characteristics of administrators according to opinions of teachers in Industrial and Community Colleges in the Eastern Region under the Office of Vocational Education Commission which were rated by teachers with different work status. However teachers working in different size of school rated desirable characteristics of their school administrators differently in the area of respect at .05 statistically significant differences. In addition, there was a statistically significant difference at .05 level regarding the desirable characteristics of school administrators in the aspect of initiative and improvement when it was rated by teachers having different work experience. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การบริหารการศึกษา |
|
dc.degree.name |
กศ.ม. |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|