DSpace Repository

การบริหารความเสี่ยงของโรงเรียนในกลุ่มตากสิน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1

Show simple item record

dc.contributor.advisor ภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.advisor สถาพร พฤฑฒิกุล
dc.contributor.author ณัฐชา กลิ้งทะเล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T04:19:18Z
dc.date.available 2023-05-12T04:19:18Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7707
dc.description งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารความเสี่ยงของโรงเรียนในกลุ่มตากสิน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน ขนาดโรงเรียน และประเภทโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูในโรงเรียนกลุ่มตากสิน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 โดยใช้ตารางกำหนดขนาดของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970, p. 608) ซึ่งได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 144 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) กำหนดขนาดโรงเรียนเป็นเกณฑ์การสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .35 - .85 และค่าความเชื่อมั่น .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การทดสอบที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และทดสอบรายคู่โดยใช้วิธีการ Scheffe’s method ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารความเสี่ยงของโรงเรียนในกลุ่มตากสิน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก 2. การบริหารความเสี่ยงของโรงเรียนในกลุ่มตากสิน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ยกเว้นด้านปัจจัยภายนอกที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำแนกตามขนาดโรงเรียน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ จำแนกตามประเภทของโรงเรียน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 ยกเว้นด้านกลยุทธ์ที่แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject โรงเรียนประถมศึกษา -- การบริหาร -- ระยอง
dc.subject การบริหารความเสี่ยง
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.title การบริหารความเสี่ยงของโรงเรียนในกลุ่มตากสิน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1
dc.title.alternative Risk mngement of schools in tksin school cluster under the ryong primry eductionl service re office 1.
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research aimed to study and compare the risk management of schools in Taksin school cluster under the Rayong Primary Educational Service Area Office 1 as classified by experience, school size and the school type. The sample used in this study consisted of 144 teachers working in schools in Taksin school cluster under the Rayong Primary Educational Service Area Office 1. The sample size was suggested by the sample size table proposed by Krejcie and Morgan (1970, p. 608). stratified random sampling was employed identify the sample in this study. The research instrument employed for the data collection was a set of rating-scale questionnaire. The power discriminative value of this questionnaire was between .35 - .85 and is reliability was .96. The data was analyzed by Mean, Standard Deviation, t-test, One-way ANOVA and Scheffe’s method. The results of the study were as follows: 1. The state of risk management of schools in Taksin school cluster under the Rayong Primary Educational Service Area Office 1 was found at high level. 2. There are no statistically difference among teachers with different working experiences toward the state of risk management of schools in Taksin school cluster. However, teachers working in different size of schools empress different opinion toward the risk management strategies at the statistical significant level of .05.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา
dc.degree.name กศ.ม.
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account