DSpace Repository

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสาหร่ายสีแดง Gracilaria fishii

Show simple item record

dc.contributor.author รัตนาภรณ์ ศรีวิบูลย์ th
dc.contributor.author ธิดารัตน์ น้อยรักษา th
dc.contributor.author จิตรา ตีระเมธี th
dc.contributor.author กิติธร สรรพานิช th
dc.contributor.author จารุนันท์ ประทุมยศ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:53:08Z
dc.date.available 2019-03-25T08:53:08Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/767
dc.description.abstract สาหร่าย Gracilaria fishii ที่ใช้ในการศึกษาจะถูกนำมาตัดเป็นท่อน ๆ ขนาดประมาณ 1 เซนติเมตร แล้วนำมาเลี้ยงในอาหาร PES สภาพปลอดเชื้อ (axenic culture) โดยให้แสง สว่าง : มืด 16 : 8 ความเข้มแสง 25-27.6 μE. m-2 .s-1 ที่อุณหภูมิ 28-30 °C เพื่อศึกษาศักยภาพของการเจริญ (regeneration) และสภาพทั่วไปของท่อนสาหร่าย รวมทั้งการศึกษาความเป็นไปได้ของการเติม N6 –benzyladenine (BA) และ napthylacetic acid (NNA) ต่อการเพิ่มศักยภาพของการงอก (regeneration) ภายใต้สภาพปลอดเชื้อ ด้วยการเติมสารละลายผสมของสารแอนติไอโอติก (สเตรปโตมัยซินซัลเฟต 0.02% คานามัยซิน 0.01% และอีรีโธรมัยซิน 0.02%) เมื่อนำท่อนสาหร่ายไปเพาะเลี้ยงในอาหาร PES ที่มีความเข้มข้น 3 เท่าจากสูตรปกติ และมีการเติม BA 0.1% ท่อนสาหร่ายสามารถแตกหน่อภายในสามวัน และสามารถสร้างแขนงเล็ก ๆ จำนวนมาก ภายใน 14-18 วัน และภายใต้การเพาะเลี้ยงในสภาพนี้ท่อนสาหร่ายมีเปอร์เซ็นต์การงอก (regeneration) มากถึง 97% ในขณะที่การเพาะเลี้ยงในอาหาร PES ความเข้มข้น 2 เท่า และมี BA 0.1% ให้เปอร์เซ็นต์การงอก 89% อย่างไรก็ตาม ท่อนสาหร่ายที่เพาะเลี้ยงในอาหาร PES สูตรความเข้มข้น 2 เท่า และ 3 เท่า ที่ไม่มีการเติม BA ยังคงให้เปอร์เซ็นต์การงอกที่ค่อนข้างสูง คือ 72 % ในขณะที่การเติม BA ในเปอร์เซ็นต์ที่ต่ำ และการเติม NAA ไม่มีผลต่อการงอกและการเจริญของกิ่งแขนงในการเพาะเลี้ยงด้วยอาหาร PES สูตรปกติ The 1-cm segments of Gracilaria fishii were grown in PES medium at 28-30 °C, 25-27.6 μE. m-2 .s-1, 16 : 8 h L : D under axenic conditions to examine their regeneration potential and characteristics, and the possible effects of N6 –benzyladenine (BA) and napthylacetic acid (NNA). Under axenic conditions by using antibiotic mixture (0.02% Streptomycin sulfate, 0.01% Kanamycin and 0.02% Erythromycin) in 3x PES medium with 0.1 % BA ; the algal segments developed buds within three days and developed profusely branchlets 3-10 mm long within 14-18 days. With this same conditions the algal segments grown in 2x PES medium without BA still produced rather many branchlets of 72 percent regeneration while low concentrations of BA and all concentrations of NAA adding in the medium had not much effect on the mode of regeneration and growth when grown inPES normal concentration. th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนโครงการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2538 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject สาหร่ายสีแดง - - การวิจัย th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสาหร่ายสีแดง Gracilaria fishii th_TH
dc.title.alternative Tissue culture of marine red alga, Gracilaria fishii en
dc.type งานวิจัย
dc.year 2538


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account