DSpace Repository

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) ร่วมกับแนวคิด DAPIC ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัสสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

Show simple item record

dc.contributor.advisor คงรัฐ นวลแปง
dc.contributor.advisor อาพันธ์ชนิต เจนจิต
dc.contributor.author วรกมล บุญรักษา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T04:19:10Z
dc.date.available 2023-05-12T04:19:10Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7668
dc.description วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) ร่วมกับแนวคิด DAPIC กับเกณฑ์ร้อยละ 70 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ่อวิทยาคาร อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี ที่กำลังศึกษา ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียนทั้งสิ้น 13 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) ร่วมกับแนวคิด DAPIC แบบทดสอบระหว่างเรียน แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีบท พีทาโกรัส สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยของประชากร ( ) และ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร ( ) ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) ร่วมกับแนวคิด DAPIC สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัสของนักเรียน หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) ร่วมกับแนวคิด DAPIC สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์
dc.subject ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
dc.subject ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- คณิตศาสตร์
dc.subject คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.title การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) ร่วมกับแนวคิด DAPIC ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัสสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
dc.title.alternative Student tem chievement divisions lerning ctivity mngement with dpic on mthemticl problem solving bility nd mthemtics lerning chievement on pythgors theorem of mthyomsuks 2 students
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were 1) to compare mathematical problem solving ability, and 2) to study mathematics learning achievement on Pythagoras theorem of Mathayomsuksa 2 students after learning through student team achievement divisions learning activity management with DAPIC with the criterion of 70 percent. The populations were 13 students from Mathayomsuksa 2 Borwittayakarn School, Khlung District, Chanthaburi Province in second semester of 2017 academic year 1 classroom. The research instruments were lesson plans of using STAD with DAPIC, formative test, mathematical problem solving ability test and mathematics learning achievement test on Pythagoras theorem. The data was analyzed by using percentage, population mean ( ) and population standard deviation ( ). The results of research were: 1. Mathematical problem solving ability on Pythagoras theorem of students after learning through student team achievement divisions learning activity management with DAPIC was higher than the 70 percent criterion. 2. Mathematics learning achievement on Pythagoras theorem of students after learning through student team achievement divisions learning activity management with DAPIC was higher than the 70 percent criterion.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การสอนคณิตศาสตร์
dc.degree.name กศ.ม.
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account