DSpace Repository

ผลของโปรแกรมเสริมสร้างความจำใช้งานในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

Show simple item record

dc.contributor.advisor วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์
dc.contributor.advisor จุฑามาศ แหนจอน
dc.contributor.author พนิดา อนุมัติ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T04:19:09Z
dc.date.available 2023-05-12T04:19:09Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7662
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างความจำใช้งานในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนนิคมวิทยา อำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง จำนวน 50 คน ที่สมัครใจและยินยอมเข้าร่วมโครงการวิจัย และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ตลอดช่วงการทดลอง สุ่มอย่างง่ายโดยการจับฉลาก แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง 25 คน และกลุ่มควบคุม 25 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมเสริมสร้างความจำใช้งานที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประกอบด้วยการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างความจำใช้งาน จำนวน 12 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที ดำเนินการสัปดาห์ละ 3 วัน รวมทั้งสิ้น 4 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการเรียนการสอนปกติจากทางโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างได้รับการประเมินความจำใช้งานด้วยเครื่องมือวัดความจำใช้งาน one back task ในระยะก่อนการทดลองและหลัง การทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่ได้รับโปรแกรมเสริมสร้างความจำใช้งานมีคะแนนความจำใช้งานหลัง การทดลองสูงกว่านักเรียนในกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 2. นักเรียนที่ได้รับโปรแกรมเสริมสร้างความจำใช้งานมีคะแนนความจำใช้งานหลัง การทดลองสูงกว่าระยะก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 สรุปได้ว่าโปรแกรมแสริมสร้างความจำใช้งานในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถเพิ่มความจุของความจำใช้งานในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายได้
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสมอง จิตใจ และการเรียนรู้
dc.subject ความจำ
dc.subject ความจำในเด็ก
dc.title ผลของโปรแกรมเสริมสร้างความจำใช้งานในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
dc.title.alternative The effects of working memory trining progrm in high school students
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research purpose was to study the effects of the working memory (WM) training program for high school students. The sample was 50 high school students in the academic year 2017, at Nikhomwittayawittaya School, Rayong province. The sample was selected by using simple random sampling. They were devided into two groups, one group consisted of 25 students for an experimental group, and another 25 students for a control group. The research instruments were working memory training program, which was designed by the researcher, and the One back task. There were 2 phases for data collection: pretest, and posttest phases. The data analysis utilized t-test. The research findings were as follows: 1. Students in the experimental group who received the working memory training program had the posttest mean score of working memory higher than students in the control group significantly different (p < .05). 2. Students in the experiment group who received working memory training program had working memory mean score in the posttest phase higher than the pretest significantly different (p < .05). It could be concluded that the WM training program enhanced WM capacity of high school students.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline สมอง จิตใจ และการเรียนรู้
dc.degree.name วท.ม.
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account