dc.contributor.advisor |
ปนัดดา จูเภาล์ |
|
dc.contributor.advisor |
พงศ์เทพ จิระโร |
|
dc.contributor.author |
ศิริเพ็ญ ทองดี |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T04:16:55Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T04:16:55Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7644 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสมรรถนะการประเมินตามสภาพจริงของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา 2) เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างสมรรถนะในการประเมินตามสภาพจริงของครู โรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีเพศ และระดับชั้นการสอนต่างกัน 3) เปรียบเทียบความแตกต่างของสมรรถนะการประเมินตามสภาพจริงจำแนกตามประสบการณ์การสอนของครูผู้สอน 4) เพื่อประเมินความต้องการจำเป็น สำหรับครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในการพัฒนาสมรรถนะการประเมินตามสภาพจริง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือ ครูโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 จำนวน 330 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะการประเมินตามสภาพจริง สำหรับครูโรงเรียนมัธยมศึกษาเป็นแบบการตอบข้อมูลสองชุดหรือการตอบสนองคู่ (Dual-response format) ตามสภาพที่คาดหวังและสภาพที่เป็นจริงที่ตรงกับความคิดเห็นของครูกลุ่มโรงเรียนมัธยมศึกษา มีการตอบด้วย การประมาณค่า 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .88 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, t-test, One-way ANOVA และค่าดัชนีความต้องการจำเป็นในการพัฒนา (PNIModified) ผลการวิจัย พบว่า 1) สมรรถนะการประเมินตามสภาพจริง ของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับดี ("X" ̅" " = 3.61, SD = 3.66) และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า สมรรถนะด้านวิธีการประเมินผู้เรียนตามสภาพจริงของครูผู้สอน มีคะแนนเฉลี่ย ("X" ̅" " = 3.80, SD = .0.72) สูงกว่าด้านแนวคิดและหลักการในการประเมินผลตามสภาพจริงที่มีคะแนนเฉลี่ย ("X" ̅" " = 3.50, SD = .0.33) 2) สมรรถนะด้านการประเมินตามสภาพจริงของครูผู้สอนที่มีเพศและระดับชั้นการสอนโดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3) สมรรถนะด้านในการประเมินตามสภาพจริงของครูโรงเรียนมัธยมศึกษากับ ประสบการณ์การสอน โดยภาพรวมและรายด้านด้านแนวคิดและหลักการในการประเมินผลตามสภาพจริงแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนด้านวิธีการประเมินผู้เรียนตามสภาพจริงของครูผู้สอนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ค่าดัชนีลำดับความต้องการจำเป็นพบว่า โดยภาพรวมด้านแนวคิดและหลักการในการประเมินผลตามสภาพจริง (PNI = .391) มีความต้องการจำเป็นสูงกว่าด้านวิธีการประเมินผู้เรียนตามสภาพจริงของครูผู้สอน (PNI = .391) และเมื่อพิจารณารายข้อพบว่าด้านแนวคิดและหลักการในการประเมินผลตามสภาพจริงมีความต้องการจำเป็นในการนำผลการประเมินผลตามสภาพจริงมาปรับใช้ในการเรียนการสอนมากที่สุด ที่ค่าระดับ (PNI = .439) ส่วนในด้านวิธีการประเมินผู้เรียนตามสภาพจริงของครูผู้สอนพบว่าความต้องการจำเป็นในการประเมินผลงานนักเรียนจากการทำแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) มากที่สุดที่ค่าระดับ (PNI = .36) |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ครูมัธยมศึกษา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา |
|
dc.subject |
ครูมัธยมศึกษา -- การประเมิน |
|
dc.title |
การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะการประเมินตามสภาพจริงสำหรับครูโรงเรียนมัธยมศึกษา |
|
dc.title.alternative |
The needs ssessment to develop the competency of uthentic ssessment for secondry school techers |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this research were; 1) to study the authentic assessment competency of secondary school teachers, 2) to compare the authentic assessment competency of the secondary school teachers based on gender and levels of class teaching, 3) to compare the authentic assessment competency based on years of teaching experience of secondary school teachers, 4) to evaluate the needs of secondary school teachers for improving the authentic assessment competency. The sample in this study was 330 teachers in the Secondary Educational Service Area Office 7. The research instrument was a questionnaire on the needs to develop the competency of authentic. It was a two-part response or a double response (Dual-Response Format) both the expected conditions and actual conditions that match the opinions of the secondary school teachers. There were 5 levels of estimation: the most, much, moderate, little and the least. The discrepancy was .20. Reliability was .88. The statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, and the priority need indicator (PNI)Modified. The results of this research were as follows: 1) The overall authentic assessment competency of the secondary school teachers was rated at a high level ("X" ̅ = 3.61, SD = 3.66). Considering the details of the authentic assessment competency were that the authentic assessment method for learners was at moderate level ("X" ̅ = 3.80, SD = .0.72). The concepts and principals of authentic assessment was at moderate level. ("X" ̅ = 3.50, SD = .0.33). 2) The authentic assessment competency of secondary school teachers was not statistically significant based on gender and levels of teaching difference. 3) The authentic assessment competency based on years of teaching experience of secondary school teachers in terms of overall and each aspect were that the concepts and principles of authentic assessment was not statistically significant different. In terms of the authentic assessment method there was significant different at the .05 level. 4) Index of priority needs showed that the concepts and principles of authentic assessment came first (PNI = .391). The expected conditions were higher than actual conditions. In term of the concepts and principles of authentic assessment were that the highest need was to apply the result of authentic assessment to teaching (PNI = .439). In terms of the authentic assessment method of the teachers was that the need for the evaluation of the student’s work by portfolio was the highest (PNI = .360). |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
วิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|