dc.contributor.advisor |
สุทธาภา โชติประดิษฐ์ |
|
dc.contributor.advisor |
ปริญญา ทองสอน |
|
dc.contributor.author |
อรนุช บุญชู |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T04:16:53Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T04:16:53Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7639 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบร่วมมือด้วยสถานการณ์ปัญหา 2) ศึกษาจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบร่วมมือด้วยสถานการณ์ปัญหา 3) ศึกษาพฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบร่วมมือด้วยสถานการณ์ปัญหา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2560 ของโรงเรียนอรัญประเทศ ตำบลอรัญประเทศ อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) และใช้เกณฑ์ในการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ มีความต้องการเรียนเพิ่มเติมในช่วงปิดภาคเรียน จำนวน 30 คน เครื่องมือในการวิจัยคือ 1) แผนการจัด การเรียนรู้เชิงรุกแบบร่วมมือด้วยสถานการณ์ปัญหา 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยา 3) แบบวัดจิตวิทยาศาสตร์ 4) แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม เป็นการวิจัย กึ่งทดลอง (Quasi-Experimental research design) ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลโดยเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาก่อนเรียนและหลังเรียน สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐานและ การทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาของนักเรียน โดยใช้การจัด การเรียนรู้เชิงรุกแบบร่วมมือด้วยสถานการณ์ปัญหา หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนที่ระดับนัยสำคัญ .01 2) จิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบร่วมมือด้วยสถานการณ์ปัญหา อยู่ในระดับดี ("X" ̅ = 4.04) 3) พฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบร่วมมือด้วยสถานการณ์ปัญหาอยู่ในระดับดี ("X" ̅ = 4.30) |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน |
|
dc.subject |
พฤติกรรมการเรียน |
|
dc.subject |
จิตวิทยาศาสตร์ |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน |
|
dc.title |
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบร่วมมือด้วยสถานการณ์ปัญหา |
|
dc.title.alternative |
Lerning chievenment ng the scientific mind of mthyomsuks 4 students using ctive nd coopertie lerning with problem sitution |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were to; 1) student the learning achievement in biology of Mathayomsuksa 4 Students using Active and Cooperative Learning together with Problem Situations, 2) student the Scientific Mind of Mathayomsuksa 4 Students after learning with the Active and Cooperative Learning with Problem Situations, 3) student the Group Work Behavior of Mathayomsuksa 4 Students during learning with Active and Cooperative Learning with Problem Situations. The sample was 30 students from the Science - Mathematics program of Mathayomsuksa 4 in academic year 2018 at Aranyaprathet School, Srakaew Province selected by the Purposive sampling, The selecting criteria were that the students, studying in Mathayomsuksa 4 in the Science - Mathematics program, being interested in Biology. The Instruments were 1) A lesson plan for Active and Cooperative Learning with Problem Situations, 2) the Scientific mind scale, 3) evaluation form of group work behavior. The data were analyzed using mean, standard deviation and t - test (Independent). The finding of the research were as follows 1) The results were that the post - test scores of biology learning using Active and Cooperative Learning with Problem Situations were significantly higher than the pre - test scores at .01 level of significance 2) the quality of Scientific Mind of students after learning with the Active and Cooperative Learning with Problem Situations, were at a good level ("X" ̅ = 4.04), 3) the quality of Group Work behavior of students after learning with Active and Cooperative Learning with Problem Situations, were at a good level ("X" ̅ = 4.30). |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
หลักสูตรและการสอน |
|
dc.degree.name |
การศึกษามหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|