DSpace Repository

ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชัยพจน์ รักงาม
dc.contributor.advisor ธร สุนทรายุทธ
dc.contributor.author อัญชลี สกุลอินทร์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T04:16:49Z
dc.date.available 2023-05-12T04:16:49Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7621
dc.description วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัจจัยและระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน และเพื่อสร้างสมการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ข้าราชการครู 327 คน จาก 210 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบเติมคำและแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 4 ระดับ ค่าจำแนกระหว่าง .38 -.77 ค่าความเชื่อมั่น . 97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าคะแนนเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า 1. ระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ปีการศึกษา 2555 โดยรวมพบว่า มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อยู่ในระดับต่ำกว่าเกณฑ์ เรียงค่าคะแนนเฉลี่ยจากมากไปน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ 2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยรวมพบว่า อยู่ในระดับมาก เรียงค่าคะแนนเฉลี่ยจากมากไปน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ ปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยด้านครู และปัจจัยด้านเพื่อน 3. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยแต่ละด้านกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยปัจจัยด้านครู ปัจจัยด้านผู้บริหาร ปัจจัยด้านหลักสูตร ปัจจัยด้านครอบครัว มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ใน ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ปัจจัยในภาพรวมสามารถพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน พบว่า ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณของตัวพยากรณ์ปัจจัยด้านหลักสูตรกับตัวเกณฑ์มีค่าเท่ากับ .103 ความคลาดเคลื่อนเนื่องจากการพยากรณ์เท่ากับ 2.110 และพบว่า ค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยพหุคูณ ของตัวแปรพยากรณ์ ได้สมการพยากรณ์ปัจจัยที่ส่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีที่สุดในรูปสมการคะแนนดิบ ดังนี้ Y = 30.231 + 3.277 (X1)
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subject การศึกษาขั้นประถม
dc.subject ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
dc.title ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2
dc.title.alternative Fctors ffective chievement of prthomsuks six students under the office of khonken primry eductionl service re office ii
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research aimed to study; the facfors those affect the learning achievement of Prathomsuksa six students under the Office of Khonkaen Primary Educational Service Area Office 2, the relationship between the factors, and to develop the predictive equation to predict the achievement of the Prathomsuksa six students. The samples were 327 teachers under the Office of Khonkaen Primary Educational Service Area Office 2. The questionnaire was used for collecting the data. It was four-lelvel rating scale questionnaire with reliability of .97. The statistics use in data analysis were mean, standard deviation. Pearson correlation coefficients and stepwise multiple regression analysis. The findings were as follows: 1. The level of achievement by the National Education Testing (O-NET) in 2012 as a whole were rated at low level. Considering the score level from the high level in three areas, they were; learning area of health and physical education, learning area of Thai language and learning area of career and technology, respectively. 2. The level of factors affecting the achievement as a whole were rated at high level. They were at high level in three areas: family factor, teacher factors and friends factor. 3. The director factor, teachers factor, curriculum factor, and family factor related to learning achievement with positive relationship with statistical significant at .05 level. 4. The factor predicted achievement as a whole found at the coefficient related to multiple equation of curriculum with the criterion were at 103. The predictive deviation was at 2.110. The best regression of raw scores, was Y = 30.231 + 3.277 (X1)
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา
dc.degree.name การศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account