DSpace Repository

การพัฒนาระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษาเพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษาสำหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา

Show simple item record

dc.contributor.advisor ทิพย์เกสร บุญอำไพ
dc.contributor.advisor พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ
dc.contributor.author ณรงค์ศักดิ์ ประสิว
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T04:14:49Z
dc.date.available 2023-05-12T04:14:49Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7562
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เฉพาะ 4 ประการได้แก่ 1) เพื่อพัฒนาระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา 2) เพื่อทดสอบ ประสิทธิภาพระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษาเพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา 4) เพื่อประเมิน รับรองระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพาจากผู้ทรงคุณวุฒิกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี การศึกษา ด้านจิตวิทยาหรือด้านศาสนาปรัชญาและด้านการออกแบบการสอน จํานวน 9 คน 2) นิสิตปริญญาตรี จํานวน 29 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สําหรับนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา 2) แบบทดสอบประสิทธิภาพระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการ ทางเทคโนโลยีการศึกษา สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนิสิตต่อระบบการเรียนการสอน และ 4) แบบประเมินและรับรองระบบการเรียนการสอนโดยผู้ทรงคุณวุฒิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าประสิทธิภาพ (E1/ E2) ผลการวิจัยพบว่า 1. ระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยี การศึกษา สําหรับนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา มี 8 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) บริบท 2) หลักการและเหตุผลของระบบ 3) วัตถุประสงค์ 4) ปัจจัยนําเข้า 5) กระบวนการ 6) สิ่งสนับสนุนการเรียน 7) ผลลัพธ์ และ 8) ข้อมูลป้อนกลับ 2. ผลการทดสอบประสิทธิภาพของระบบการเรียนการสอนฯ E1/ E2 ทั้ง 4 หน่วยการเรียนมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 84.83/84.48, 85.58/85.00,85.34/85.00 และ 84.31/84.66 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 3. นิสิตมีความพึงพอใจระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษาเพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สําหรับนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา อยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด 4. ผลการประเมินและรับรองระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษาเพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สําหรับนิสิตปริญญาตรีมหาวิทยาลัยบูรพา จากผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ระบบการเรียนการสอน
dc.subject ความคิดทางบวก
dc.subject เทคโนโลยีทางการศึกษา -- การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา)
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
dc.title การพัฒนาระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษาเพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษาสำหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.title.alternative A development of cse study-bsed instructionl system for enhncing positive thinking on eductionl technology nd communiction services of Burph university undergrdute students
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were; 1) to develop a case study-based instructional system for enhancing positive thinking foreducational technology and communication services of Burapha University undergraduate students;2) to measure the efficiency test of the instructional system; 3) to study the satisfaction of students toward the case study-based instruction system; and 4) to assess and certify the developed system by the educational experts. The samples used in this research were; 1)9 experts 3 from Educational Technology field, 3 from Instructional and Curriculum field and 3 from Psychology or Religion and Philosophy field. 2) 29 undergraduate students who were selected by purposive sampling. The research instruments were: 1) the system prototype; 2) the efficiency test; 3) students’ satisfaction questionnaire and 4) the experts assessment forms. The data were analyzed by Mean, Percentage, Standard deviation, and E1/ E2. The research results were; 1. A case study-based instructional system for enhancing positive thinking of educational technology and communication services of Burapha University undergraduate students consisted of eight components: 1) Context 2) Rationale 3) Objective4) Input 5) Process 6) Supporting Learners 7) Output and 8) Feedback. 2. The efficienciesof a case study-based instructional system for enhancing positive thinking oneducational technology and communication services of Burapha University for undergraduate students were;84.83/ 84.48,85.58/ 85.00, 85.34/ 85.00 and 84.31/ 84.66 which meet the criterion set. 3. The satisfaction of students toward the case study-based instructional system were at the highest level. 4. The assessment and certification of the case study-based instructional system from the educational experts were at the highest level.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline เทคโนโลยีการศึกษา
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account