DSpace Repository

การพัฒนารูปแบบการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor สฎายุ ธีระวณิชตระกูล
dc.contributor.advisor ชัยพจน์ รักงาม
dc.contributor.author ณัฐชา จันทร์ดา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T04:02:36Z
dc.date.available 2023-05-12T04:02:36Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7505
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดชลบุรี ประชากร (ผู้บริหารสถานศึกษา และครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดชลบุรี) ทำการศึกษายกร่างต้นแบบจากแบบสำรวจรายการ (Check list) แบบสอบถาม (Questionnaire) แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) แนวคิด ทฤษฎี และการถอดบทเรียนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best practice) ด้านสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เป็นเลิศ จำนวน 2 โรงเรียน และประเมินผลการใช้รูปแบบจากโรงเรียนที่ทำการทดลองใช้ “คู่มือ การนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียน ด้านการใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา Janda model: CBAPAD” จำนวน 1 โรงเรียน คือ โรงเรียนอุทกวิทยาคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดชลบุรีใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม (Mixed methodology) โดยแบ่งการวิจัยเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัญหาความต้องการจำเป็นการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียนของสถานศึกษา ฯ ระยะที่ 2 การสร้างรูปแบบการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียนของสถานศึกษา ฯ ระยะที่ 3 การประเมินผลรูปแบบการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียนของสถานศึกษา ฯ เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์เชิงลึก แบบประเมินการอบรมเชิงปฏิบัติการ ฯ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ( ) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) และดัชนีการจัดเรียงลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น (Modified priority needs index: PNI modified) ผลการวิจัย พบว่า 1. ระดับความต้องการจำเป็นการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดชลบุรี ตามความเห็นของ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนโดยรวม พบว่า เมื่อเรียงอันดับตามค่าเฉลี่ย 3 ด้าน จากมาก ไปหาน้อย ได้แก่ 1) ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 2) ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ และ 3) ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ตามลำดับ 2. รูปแบบการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียน ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา (คู่มือการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียน ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา Janda model: CBAPAD) มี 6 โมดูล ได้แก่ 1) Coaching and mentoring: ชี้แนะ สอนงาน 2) Budget: สนับสนุนงบประมาณ 3) Action: ปฏิบัติการ 4) Presentation: นำเสนอผลงาน 5) Assessment: ประเมินผลงาน 6) Dissemination: เผยแพร่ผลงาน ตามลำดับ 3. ผลจากการประเมินรูปแบบการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียน ฯ (คู่มือ ฯ) ที่ได้จากแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เชิงลึก ของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน สอดคล้องและเป็นแนวทางเดียวกันในด้านความสำเร็จของการนำไปใช้ “มากที่สุด” นำไปสู่การปฏิบัติจริงได้ต่อไป
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subject การนิเทศการศึกษา
dc.subject โรงเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย -- ชลบุรี
dc.title การพัฒนารูปแบบการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternative The development of internl cdemic model of schools under The Office of Secondry Eductionl Service Are 18 Chonburi Province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The main purpose of this study was to develop the internal academic supervision model for schools under the Office of Secondary Educational Service Area 18 Chon Buri Province. The target population in this study were groups of schools administrators and teachers in schools under the Office of Secondary Educational Service Area 18 Chon Buri Province. The study drew up the model based on the data collected through a check list form, a questionnaire and an in-depth interview guide developed by the researcher as well as from the concepts, theories and lessons learned from 2 schools which have been regarded as best practice schools and quite famous for media and innovation technology development. In addition, based on the criteria set in the manual of this internal academic supervision model, the researcher evaluated the effectiveness of the model by collecting her data from Utok Wittayakom School implementing this model, Janda Model: CBAPAD. The mixed methodology was designed to divide this study into 3 phrases: Phrase 1 aims at investigating the needs for the internal academic supervision of the schools; Phrase 2 aims at drawing up the internal academic supervision model; and Phrase 3 aims at evaluating the effectiveness of the developed internal academic supervision model. The research data collection instruments consisted of a questionnaire, an in-depth interview guide and an operational training evaluation form. The statistics used for analyzing the data in this study include Mean ( ), Standard Deviation (SD), Frequency, Percentage), and the Modified Priority Needs Index: PNI modified) This study reveals that 1. School administrators and teachers in schools under the Office of Secondary Educational Service Area 18 Chon Buri Province respectively rated for the needs of the internal academic supervision in three areas: 1) Media and educational innovation and technology development, 2) Student learning process development, and 3) the curriculum development. 2. The internal academic supervision model in the areas of media and educational innovation and technology, based on the manual of this internal academic supervision model, Janda Model: CBAPAD, consists of 6 modules: 1) Coaching and Mentoring, 2) Budget, 3) Action, 4) Presentation, 5) Assessment, and 6) Dissemination respectively. 3. The implementation of this internal academic supervision model collected through the interview and the returned questionnaire from participants in the school implementing this model uncovered the similar viewpoint highlighting ‘the highest score’ for the success of implementation and real practice of the model.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account