DSpace Repository

รูปแบบการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Show simple item record

dc.contributor.advisor ธร สุนทรายุทธ
dc.contributor.advisor พงศ์เทพ จิระโร
dc.contributor.author อมลรดา พุทธินันท์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:59:02Z
dc.date.available 2023-05-12T03:59:02Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7483
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) พัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 3) สร้างคู่มือการปฏิบัติงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และตรวจสอบรูปแบบการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล จากนั้นใช้เทคนิคการวิจัยแบบ EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) ในการพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สร้างคู่มือ การปฏิบัติงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่การปฏิบัติได้จริง และตรวจสอบรูปแบบการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ได้จากการวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก ดังนี้ 1) ภาวะผู้นำทางวิชาการ 2) ภารกิจและขอบข่ายงานวิชาการในโรงเรียน 3) กระบวนการบริหารงานวิชาการ 4) การมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการ 2. ผลการพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยใช้เทคนิคการวิจัยแบบ EDFR พบว่า องค์ประกอบทุกองค์ประกอบ มีความเหมาะสม ทุกตัวบ่งชี้ (มีค่ามัธยฐานตั้งแต่ 3.50 ขึ้นไป, คําพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 และผลต่างระหว่างฐานนิยมกับมัธยฐานไม่เกิน 1.50) องค์ประกอบของรูปแบบการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มี 4 องค์ประกอบ ประกอบด้วย 19 องค์ประกอบหลัก 114 ตัวบ่งชี้ ผู้บริหารสถานศึกษา และ/ หรือหัวหน้างานวิชาการ มีความคิดเห็นสอดคล้องกันว่ามีความเหมาะสมทั้งหมด อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด 3. คู่มือการปฏิบัติงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้เชี่ยวชาญ ผู้บริหารสถานศึกษา และหัวหน้างานวิชาการมีความเห็นว่าเหมาะสมอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การบริหารการศึกษา -- ไทย
dc.subject คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.title รูปแบบการบริหารงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
dc.title.alternative A model of cdemic dministrtion towrds excellence for schools under the locl dministrtion orgniztion
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to; 1) study factors of academic administration for excellence for schools under the local administration organization 2) develop model of academic administration for excellence for schools under the local administration organization 3) construct manuals and evaluate the model of the academic administration for excellence for schools under the local administration organization by studying the concept, theory, research and analyze, synthesis data. The research methodology were EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) for developing model and manuals, and evaluate the model. The findings reveled that; 1. There were 4factors of the model of academic administration forexcellence for schools under the local administration organization they consisted of 1) Academic leadership 2) tasks and framework of school’s academic 3) process of academic administration 4) participation of academic administration. 2. The result developed model of academic administration for excellence for schools under the local administration organization using EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) research methodology were found having 4 factors be appropriate in any indicators (upper 3.50 of median and lower than 1.50of quartile rage and the difference of mode and median not over 1.50) The 4 factors of model of academic administration for excellence for schools under the local administration organization divided in to 19 core factors and 114 indicators. The opinion of administrators were congruence at high and highest level. 3. The opinion of expert and administrator for the manualsof the academic administration for excellence for schools under the local administration organization were congruence at high and highest level.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account