DSpace Repository

การศึกษาพลังงานในโรงงานผลิตพาเลทไม้

Show simple item record

dc.contributor.advisor วรเชษฐ์ ภิรมย์ภักดิ์
dc.contributor.author ปภาวดี ภิญโญ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:58:55Z
dc.date.available 2023-05-12T03:58:55Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7452
dc.description งานนิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ทำการศึกษาการใช้พลังงานในโรงงานผลิตพาเลทไม้ขนาดเล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง ซึ่งเป็นโรงงานประกอบพาเลทไม้ตามคำสั่งซื้อของลูกค้าพลังงานหลักที่ใช้คือ พลังงานไฟฟ้าและไม่มีการใช้พลังงานในรูปแบบอื่น ๆ ในการศึกษานี้จะทำการศึกษาเฉพาะกระบวนการผลิต จากการคำนวณสมรรถนะของเครื่องอัดอากาศ 2 เครื่อง พบว่า มีการสูญเสียพลังงานจากระบบส่งจ่ายลม (ระบบอัดอากาศ) 628.77 ลิตร/ นาทีโดยแบ่งเป็นลมรั่วจากเครื่องอัดอากาศที่ 1 เท่ากับ 535.69 ลิตร/ นาทีและลมรั่วจากเครื่องอัดอากาศที่ 2 เท่ากับ 93.08 ลิตร/ นาที ดังนั้น ผู้วิจัยจึงเสนอแนวทางการแก้ปัญหาเพื่อปรับปรุงระบบส่งจ่ายลมนี้โดยเปลี่ยนเครื่องอัดอากาศจากขนาด 10 แรงม้า เป็น 15 แรงม้า เพียง 1 เครื่อง ปรับปรุงระบบส่งจ่ายลมจากท่อลมยาง เป็นเหล็กชุบกัลป์วาไนซ์ จากผลลัพธ์ที่ได้พบว่า สามารถลดค่าพลังงานจำเพาะต่อหน่วยผลิตภัณฑ์จาก 0.79 MJ/ Unit เหลือ 0.58 MJ/ Unit และเมื่อคำนวณความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์พบว่า มีจุดคุ้มทุนที่ 0.12 ปีเมื่อระบบทำงานแบบเต็มกำลังและ 0.23 ปี เมื่อระบบทำงานแบบครึ่งกำลัง
dc.language.iso th
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject โรงงาน -- การใช้พลังงาน -- การจัดการ
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
dc.subject การผลิตพลังงานไฟฟ้า
dc.subject การใช้พลังงาน
dc.subject พลังงานไฟฟ้า
dc.title การศึกษาพลังงานในโรงงานผลิตพาเลทไม้
dc.title.alternative Study of wooden pllet fctory energy consumption
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research aims to study about the energy consumption in a small wooden pallet factory in Rayong province. A wooden pallet factory isbased on customer'sorders. The main energy used is electrical energy and there areno other forms of energy used.Focusing on the process of calculating the efficiency of the compressor, there is a loss of power from the air distribution system. The compressed air is lost from two compressors to the ambient at a rate of 628.77 liters/ minute: air compressor # 1 535.69 liters/ minute and air leakage from the air compressor # 2 93.08 liters/ minute. The researcher proposed a solution to improve the air distribution system by replacing an air compressors of10 HP with 15 HP, changing the air distribution system from rubber hose to galvanized steel. From the results, it can be found that SEC decreases from 0.79 MJ/ Unit to 0.58 MJ/ Unit and its benefithave a payback period of 0.12 year in full load and 0.23 year in half load.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account