DSpace Repository

การออกแบบระบบการทำงานอัตโนมัติของกระบวนการผลิตชิ้นส่วนชุดประกอบร่วมห้ามล้อรถบรรทุก

Show simple item record

dc.contributor.advisor บรรหาญ ลิลา
dc.contributor.author ศราวุฒิ ทองมะหา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:58:55Z
dc.date.available 2023-05-12T03:58:55Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7450
dc.description งานนิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract งานนิพนธ์นี้นำเสนอการออกแบบและติดตั้งกระบวนการผลิตแบบอัตโนมัติิในสายการผลิตชิ้นส่วนชุดประกอบร่วม Drum Brake เพื่อตอบสนองต่อนโยบายในการใช้เทคโนโลยี และลดต้นทุนการผลิตขององค์กรโดยการออกแบบสายการผลิตให้เป็นแบบเซลล์และติดตั้งหุ่นยนต์ช่วยในการนำชิ้นงานเข้าและออกจากเครื่องจักรแทนพนักงาน ผลการดำเนินงานพบว่า สามารถลดต้นทุนการผลิตจาก 557.96 บาท/ชิ้น ลงเหลือ 556.49 บาท/ชิ้น โดยไม่ส่งผลต่อคุณภาพชิ้นงานพร้อมกับลดจำนวนพนักงานในสายการผลิตจาก 8 คน/วัน เหลือ 2 คน/วัน ภายใต้ผลตอบแทนการลงทุนประเมินจากดัชนี NPV และ IRR เท่ากับ 1,678,119 บาท และร้อยละ 34.81 ตามลำดับ ซึ่งคาดว่า จะคืนทุนภายใน 2.5 ปี จึงสรุปได้ว่าการวิจัยนี้ช่วยนำไปสู่การลดต้น ทุนการผลิตได้อย่างมีนัยสำคัญและสามารถใช้เป็นแนวทางในดำเนินการในลักษณะเดียวกันได้ต่อไป
dc.language.iso th
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject หุ่นยนต์อุตสาหกรรม -- การควบคุมอัตโนมัติ
dc.subject การควบคุมอัตโนมัติ
dc.subject เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี)
dc.subject อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่
dc.subject รถบรรทุก -- เบรก -- การผลิต
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม
dc.title การออกแบบระบบการทำงานอัตโนมัติของกระบวนการผลิตชิ้นส่วนชุดประกอบร่วมห้ามล้อรถบรรทุก
dc.title.alternative A design of utomtic opertions system for truck drum brke production process
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research presents a design and an installation of the automatic production process that produces parts for the Drum Brake set, in order to fulfill the technology implementation and production cost reduction policy of the organization. The production cell production line was designed and the operators was replaced by installing the robotic arm to perform the loading and unloading of parts into and out of the machines, respectively. The actual implementation has led to the reduction of production cost from 557.96 to 556.49 baht per unit without effect on quality, and the decrement of operators from 8 to 2 persons. The NPV and IRR of the investment are expected to be 1,678,119 baht and 34.81%, respectively, with an estimated payback period of 2.5 years. Therefore, it can be concluded that this research could lead to significant reduction of the unit cost of production and could be seen as a demonstration of how to employ technology in other similar situations.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การจัดการงานวิศวกรรม
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account