dc.contributor.advisor |
สมพงษ์ ปั้นหุ่น |
|
dc.contributor.advisor |
สุเมธ งามกนก |
|
dc.contributor.author |
สุภัค วงศ์ภักดี |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:58:54Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:58:54Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7445 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบความตรงของโมเดลเชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาจีนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนศิลป์ (ภาษาจีน) ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 และศึกษาขนาดอิทธิพลของตัวแปรที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาจีนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนศิลป์ (ภาษาจีน) ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนศิลป์ (ภาษาจีน) ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จำนวน 612 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาจีน มีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นของ แต่ละปัจจัยอยู่ระหว่าง .871-.939 และมีค่าอำนาจจำแนก อยู่ระหว่าง .275-.658 การวิเคราะห์สมการโครงสร้างปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาจีนด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป LISREL ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. ผลการวิเคราะห์เส้นทางของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาจีนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนศิลป์ (ภาษาจีน) ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูล เชิงประจักษ์ (2 = 40.98, p = .89, df = 53, GFI = .99, AGFI = .98, RMR = .0052, RMSEA = .00) 2. ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาจีนของนักเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ได้แก่ พฤติกรรมการเรียนของนักเรียนและพฤติกรรมการสอนของครู มีขนาดอิทธิพลเท่ากับ .07 และ .10 ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางอ้อมต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาจีนของนักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ได้แก่ การสนับสนุนของโรงเรียน และการสนับสนุนของผู้ปกครอง มีขนาดอิทธิพลเท่ากับ .13 และ .02 ตามลำดับ พฤติกรรมการสอนของครูมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาจีนของนักเรียน มีขนาดอิทธิพลรวมเท่ากับ .13 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ครู -- ความพอใจในการทำงาน |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา |
|
dc.subject |
คุณภาพชีวิตการทำงาน |
|
dc.subject |
การทำงาน |
|
dc.title |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตในการทำงานของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 |
|
dc.title.alternative |
Fctors towrd techer’s qulity of work life in secondry school under the secondry eduction service re office 4 |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this research were to explore the validity of the causal model of the factor influencing Chinese language achievement of high school students under the secondary educational service area office 18, and to examine the effect size of the factor influencing Chinese language achievement of high school students under the secondary educational service area office 18. The sample was 612 high school students under the secondary educational service area office 18 selected by multi-stage random sampling. The research instrument was the 5 rating scale questionnaire. The reliability of the questionnaire was determined by the factors as student characteristic was .871, parent support was .917, school support was .926, teacher behavior was .939, and student behavior was .912. The discriminations were ranged from .275 to .658. The results were as follows: 1. The path analysis of measurement model of Chinese language achievement of high school students under the secondary educational service area office 18 was fit to the empirical data. All statistics of the model based on the criteria were chi-square was 40.98, p-value was .89, degree of freedom (df) was 53, Goodness of fit index (GFI) was .99, Adjusted goodness of fit index (AGFI) was .98, Root mean square residual (RMR) was .0052, and Root mean square error of approximation (RMSEA) was .00. 2. The factor which had direct effect to Chinese language achievement with statistically significant at .01 level was student behavior with the effect size of .06. The factors which had indirect effect to Chinese language achievement with statistically significant at .01 level were school support and parent support with the effect size of .13 and .02. Teacher behavior had direct effect and indirect effect to Chinese language achievement with total effect size of .13 with statistically significant at .01 level. Student characteristic did not have any effect to student’s Chinese language achievement. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การบริหารการศึกษา |
|
dc.degree.name |
การศึกษามหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|