DSpace Repository

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และพฤติกรรมการทำงานกลุ่มเรื่อง การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชและสัตว์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ทีได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคกลุ่มสืบค้น (GI)

Show simple item record

dc.contributor.advisor สมศิริ สิงห์ลพ
dc.contributor.advisor นพมณี เชื้อวัชรินทร์
dc.contributor.author คนิษา ลำภาศาล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:58:54Z
dc.date.available 2023-05-12T03:58:54Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7442
dc.description วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม เรื่อง การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชและสัตว์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคกลุ่มสืบค้น (GI) โรงเรียนสาธิต “พิบูลบำเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 5 ห้องเรียน ด้วยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชและสัตว์ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชและสัตว์ 3) แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ (t-test) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคกลุ่มสืบค้น (GI: Group investigation) หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคกลุ่มสืบค้น (GI: Group investigation) หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. พฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคกลุ่มสืบค้น (GI: Group investigation) หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. พฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคกลุ่มสืบค้น (GI: Group investigation) หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การทำงานกลุ่มในการศึกษา
dc.subject นักเรียนประถมศึกษา
dc.subject วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
dc.subject ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์
dc.subject การค้นข้อสนเทศ
dc.title การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และพฤติกรรมการทำงานกลุ่มเรื่อง การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชและสัตว์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ทีได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคกลุ่มสืบค้น (GI)
dc.title.alternative A study of science lerning chievement nd group work behvior on the response of plnt nd niml for 2nd grde students using the coopertive lerning: group investigtion (GI)
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research aimed to study science learning achievement and group work behavior on “the response of plant and animal” for 2nd grade students using the cooperative learning: Group investigation (GI) in the first semester the academic year 2017 at “Piboonbumpen” Demonstration School, Burapha University. The participants of the study were obtained by a cluster random sampling technique (n = 26). The research instruments consisted of; 1) lesson plans on the response of plant and animal using cooperative learning: Group investigation (GI), 2) a science learning achievement test, and 3) group work behavior assessment form. Mean, standard deviation, and t-test were used to analyze the data. The research findings were summarized as follows: 1. The post-test means scores of science learning achievement of the 2nd grade students after using the cooperative learning: Group investigation (GI) teaching were significantly higher than the pre-test means scores at the .05 level. 2. The post-test means scores of science learning achievement of the 2nd grade students after using the cooperative learning: Group investigation (GI) teaching were significantly higher than the 70 percent criterion at the .05 level. 3. The post-test means scores of group work behavior of the 2nd grade students after using the cooperative learning: Group investigation (GI) teaching were significantly higher than the pre-test means scores at the .05 level. 4. The post-test means scores of group work behavior of the 2nd grade students after using the cooperative learning: Group investigation (GI) teaching were significantly higher than the 70 percent criterion at the .05 level.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การสอนวิทยาศาสตร์
dc.degree.name การศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account