DSpace Repository

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศ

Show simple item record

dc.contributor.advisor นพมณี เชื้อวัชรินทร์
dc.contributor.advisor กิตติมา พันธ์พฤกษา
dc.contributor.author วรลักษณ์ เอียดรอด
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:55:34Z
dc.date.available 2023-05-12T03:55:34Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7431
dc.description วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วย การเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์) จำนวน 36 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบวัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้การทดสอบที (t-test) และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับเกณฑ์ที่กำหนด คือ ร้อยละ 70 ผลการวิจัยพบว่า 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศมีประสิทธิภาพ (E1/ E2) เป็น 78.26/ 77.96 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 75/ 75 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วย การเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศ ในองค์ประกอบด้านความรู้นั้นสูงกว่าก่อนเรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และอยู่ในระดับดี ส่วนองค์ประกอบเพิ่มเติมของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในงานวิจัยนี้ ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และด้านจิตวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับดี 3. นักเรียนมีเจตคติต่อวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับดี
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การเรียนรู้ร่วมกัน
dc.subject ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์
dc.subject วิทยาศาสตร์ -- กิจกรรมการเรียนการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subject ระบบนิเวศ
dc.subject วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- กิจกรรมการเรียนการสอน
dc.subject นักเรียนมัธยมศึกษา -- กิจกรรมการเรียนการสอน
dc.title การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศ
dc.title.alternative The study of lerning chievement nd ttitude towrds science for 9th grde students with lerning pckge using the coopertive lerning std technique on ecosystem
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to study efficiency of learning packages using the cooperative learning STAD technique on ecosystem. The samples of this research consisted of thirty-six 9th grade students at Bansaun Jananusorn School, Chonburi province. They were randomly selected by the cluster random technique. The research instruments were lesson plans, learning package, achievement test, and attitude towards science assessment form. The data were analyzed to compare the difference of learning achievement before learning with after learning using the t-test for dependent sample and to compare learning achievement after learning with the criterion of 70 percent. The results showed that: 1. The learning package using the cooperative learning STAD technique of ecosystem had an efficiency of 78.26/ 77.96 which was higher than the set criterion of 75/ 75. 2. Learning achievement of students after learning with the cooperative learning STAD technique on knowledge aspect were statistically significant higher than the prestudy and better than the criterion at the .05 level. In addition, the average score of science process skill and scientific mind were at good level. 3. The attitude towards science of student were at good level.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การสอนวิทยาศาสตร์
dc.degree.name การศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account