dc.contributor.advisor |
ชัยพจน์ รักงาม |
|
dc.contributor.advisor |
เกรียงศักดิ์ บุญญา |
|
dc.contributor.author |
อัญทิรา วาดี |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:55:30Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:55:30Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7427 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการบริหาร ปัจจัยด้านครู และปัจจัยด้านผู้เรียน กับการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 4) เพื่อสร้างสมการพยากรณ์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน กลุ่มตัวอย่างข้าราชการครู จำนวน 361 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบ่งชั้นตามขนาดของโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ปัจจัยมีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.23-0.78 ค่าความเชื่อมั่น 0.96 และการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมีค่าอำนาจจำแนก 0.44-0.87 ค่าความเชื่อมั่น 0.97 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( xˉ ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน (SD) สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบนำเข้าตัวแปร (Enter Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก 2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก 3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยรวม มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง ได้แก่ วิสัยทัศน์ผู้บริหาร สุขภาพกายสุขภาพจิตของนักเรียน และความสัมพันธ์ในระดับสูง ได้แก่ ความรู้ความสามารถของครู การปฏิบัติงานของครู พฤติกรรมผู้บริหาร การรู้จักตนเองและพึ่งตนเองได้ของนักเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สามารถพยากรณ์การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
โรงเรียนมัธยมศึกษา -- นักเรียน |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา |
|
dc.subject |
นักเรียนมัธยมศึกษา -- การดูแล |
|
dc.subject |
โรงเรียน -- การบริหาร |
|
dc.title |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร |
|
dc.title.alternative |
Fctors ffecting to implementtion of student cring system under the office of bngkok secondry eduction sevice re, 2 |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research 1. study implementation of student caring system under 2. study factors affecting to implementation of student caring system 3. study vision administrator, student physical and mental health related with overall implementation of student caring system 4. study factors affecting to implementation of student caring system. The sample were 361 government teachers was selected by stratified random sampling by school size. Using questionnaire as research tool, with discrimination power value factors affecting was between 0.23-0.78 and reliability value of 0.96. Beside, its discrimination power value implementation of student caring system was between 0.44-0.87 and reliability value of 0.97. The statistics used in data analysis weremean (xˉ ), standard deviation (SD), Pearson’s product-moment correlation coefficient and Enter Multiple regression analysis. The research found that 1. Implementation of student caring system as overall and each aspect were at a high level 2. Factors affecting to implementation of student caring system as overall and each aspect were at a high level 3. Vision administrator, student physical and mental health related with overall implementation of student caring system at moderate level. Ability and Performance of teachers, behavior of administrator,self-awareness of students and self-reliance of studentsrelated with overall implementation of student caring system at high levelat 0.01 statistically significant levels. 4. Analysis of factors affecting to implementation of student caring system can predict implementation of student caring system at 0.01 |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การบริหารการศึกษา |
|
dc.degree.name |
การศึกษามหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|