dc.contributor.advisor |
ภารดี อนันต์นาวี |
|
dc.contributor.advisor |
สถาพร พฤฑฒิกุล |
|
dc.contributor.author |
ชัชพล ธรรมมา |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:55:24Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:55:24Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7420 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (กศ.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 302 คน ปีการศึกษา 2559 โดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามสำหรับวัดระดับพฤติกรรมหรือการปฏิบัติ แบ่งออกเป็น 2 ตอน ได้แก่ แบบสอบถามภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .22-.88 ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .96 และแบบสอบถามระดับองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา ค่าอำนาจการจำแนกระหว่าง .22-.75 ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหาร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงอันดับจากมากไปน้อย คือ ด้านการจัดโครงการสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักเรียน ด้านการประเมินผลการสอนของครู ด้านมุมมองและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงด้านหลักสูตร และด้านการวางแผนเพื่อพัฒนาความเป็นครู มืออาชีพ 2. องค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงอันดับจากมากไปน้อย คือ ด้านวิสัยทัศน์ร่วม ด้านแบบแผนทางความคิด ด้านความเชี่ยวชาญของบุคคล ด้านการเรียนรู้ของทีม และด้านการคิดเชิงระบบ 3. ภาวะผู้นำการทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา กับองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 โดยรวมและรายด้านพบว่า มีความสัมพันธ์กันค่อนข้างสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา |
|
dc.subject |
ผู้บริหารโรงเรียน |
|
dc.subject |
โรงเรียนประถมศึกษา -- การบริหาร |
|
dc.subject |
ภาวะผู้นำทางการศึกษา |
|
dc.title |
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 |
|
dc.title.alternative |
The reltionship between instructionl ledership of school dministrtors nd lerning orgniztion of school under The Skeo Primry Eductionl Service Are Office 2 |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This purposes of research were to study the relationship between instructional leadership of school administrators and learning organization of school under the Sakaeo Primary Educational Service Area Office 2. The sample consisted of 302 teachers in schools under the Sakaeo Primary Educational Service Area Office 2 by Stratified sampling. The instrument used for the data collecting was a set of rating scale questionnaire a five level divided into 2 parts, including the instructional leadership of school administrators, with the item discrimination ranged from .22 to .88 and the reliability was .96. and learning organization of school with the item discrimination ranged from .22 to.75 and the reliability was .93. The statistic in the study were Mean, Standard deviation, and Pearson Product Moment Correlation coefficient. The results of the study were as follows: 1. The instructional leadership of schools administrators under Sakaeo Primary Educational Service Area Office 2 in overall and each aspect were rated at a high level, ranging from: project management for special needs, assessment of student learning, assessment of teachers teaching, perspectives and trends in course change and planning and progressive development of the profession, respectively. 2. The learning organization of schools under Sakaeo Primary Educational Service Area Office 2 in overall and each aspect were rated at a high level ranging from: shared vision, mental models, personal mastery, team learning and systematic thinking, respectively. 3. The relationship between instructional leadership of school administrators and learning organization of schools in overall and each aspect were rated at a near high level with significant level of .01. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การบริหารการศึกษา |
|
dc.degree.name |
การศึกษามหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|