DSpace Repository

การทำงานเป็นทีมของข้าราชการครูในโรงเรียนระยองวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดระยอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุเมธ งามกนก
dc.contributor.author กาญจนา ช้างเยาว์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:55:18Z
dc.date.available 2023-05-12T03:55:18Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7404
dc.description งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการทำงานเป็นทีมของข้าราชการครูในโรงเรียนระยองวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดระยอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการทำงาน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 165 คน โดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซีและมอร์แกน (Krejcie & Morgan,1970, pp. 608-609) โดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) แบ่งเป็น 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนก รายข้ออยู่ระหว่าง .57-.82 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .97 และวิเคราะห์ด้วยสถิติค่าเฉลี่ย ( ) ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การทดสอบค่าที (t-test) และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของตัวแปรที่ทดสอบ จะทำ การเปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีของ เชฟเฟ่ (Scheffe’s method) ผลการวิจัย พบว่า 1. การทำงานเป็นทีมของข้าราชการครูในโรงเรียนระยองวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดระยอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้านเรียงจากมากไปน้อย การทำงานเป็นทีมของข้าราชการครู ด้านการมี ส่วนร่วม ด้านความไว้วางใจซึ่งกันและกัน ด้านการสื่อสารอย่างเปิดเผย ด้านการมีเป้าหมายเดียวกัน ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ ด้านการยอมรับนับถือ 2. เปรียบเทียบการทำงานเป็นทีมของข้าราชการครูในโรงเรียนระยองวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดระยอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จำแนกตามเพศ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อจำแนกตามประสบการณ์ในการทำงานโดยรวมและ รายด้านแตกต่างกันอย่างนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นด้านการมีปฏิสัมพันธ์ แตกต่างกัน อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การทำงานเป็นทีม
dc.subject โรงเรียนระยองวิทยาคม -- การบริหาร
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subject บุคลากรโรงเรียน
dc.subject ครู
dc.title การทำงานเป็นทีมของข้าราชการครูในโรงเรียนระยองวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดระยอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18
dc.title.alternative Techers’ temworking performnces in Ryongwittykom school under the secondry eductionl service re office 18
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objective of the research was to examine and compare the teacher’s team working performances in Rayongwittayakom school maung district, Rayong Province under the Secondary Educational Service Area 18, classified by gender and working experience. The sample was 165 teachers, determined by using a table of Krejcie & Morgan. They were selected by stratified sampling. The tools used consisted of rating-scale questionnaires, having the discrimination power between .57 - .82 and the reliability at .97. The statistics were mean ( ), Standard, deviation, t-test, and one-way ANOVA. The scheffe’s method was used to identify the pair difference. It was found that: 1. The school teachers have opinions on team working at Rayongwittayakom school by overall at high level, ranging from team participation, trust among team member, open communication, having the same goal, interaction and getting respect, respectively. 2. The school teachers according to gender have opinions team working at Rayongwittayakom school in were not significantly different. When classified by work experience overall, the difference was statistically significant at the .05 level. Except for the group interaction.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา
dc.degree.name การศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account