DSpace Repository

ผลการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัยที่มีต่อความสามารถในการให้เหตุผลและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่อง ลำดับของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

Show simple item record

dc.contributor.advisor อาพันธ์ชนิต เจนจิต
dc.contributor.advisor คงรัฐ นวลแปง
dc.contributor.author เยาว์ประภา สิงห์มหาไชย
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:55:17Z
dc.date.available 2023-05-12T03:55:17Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7398
dc.description วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการให้เหตุผล ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ลำดับของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้ แบบอุปนัยและนิรนัยกับเกณฑ์ร้อยละ 70 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ลำดับของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัย กับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 25 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัย จำนวน 6 แผน 2) แบบทดสอบ วัดความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่มีค่าความเชื่อมั่น .90 3) แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ลำดับที่มีค่าความเชื่อมั่น .88 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที (t-test for one sample) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ลำดับของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้ แบบอุปนัยและนิรนัย สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ลำดับของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้ แบบอุปนัยและนิรนัย สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
dc.subject คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์
dc.subject นักเรียนมัธยมศึกษา
dc.title ผลการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัยที่มีต่อความสามารถในการให้เหตุผลและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่อง ลำดับของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
dc.title.alternative The effects of inductive nd deductive lerning mngement on mthemticl resoning bility nd lerning chievement in sequences of mthyomsuks 5 students
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were; 1) to compare mathematical reasoning ability on “sequences” of mathayomsuksa 5 students after learning with inductive and deductive management activities with the criterion of 70 percent, and 2) to compare mathematics learning achievement on “sequences” of mathayomsuksa 5 students after learning with inductive and deductive learning management with the criterion of 70 percent. The sample were 25 Mathayomsuksa 5/1 students of the first semester in academic year B.E 2560. They were selected by cluster random sampling. The research instruments used in this research consisted of; 1) six inductive and deductive lesson plans; 2) mathematical reasoning abilities test, with the reliability of .90; and 3) mathematics learning achievement on “sequences” test, with the reliability of .88. The data were analyzed by mean, percentage, standard deviation and t-test for one sample. The results were as follows: 1. The mathematical reasoning ability on “sequences” of mathayomsuksa 5 students after learning with the inductive and deductive learning management was higher than the criterion of 70 percent at .05 level. 2. The mathematics learning achievement on “sequences” of mathayomsuksa 5 students after learning with inductive and deductive learning management was higher than the criterion of 70 percent at .05 level.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การสอนคณิตศาสตร์
dc.degree.name การศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account