dc.contributor.advisor |
ภารดี อนันต์นาวี |
|
dc.contributor.advisor |
เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม |
|
dc.contributor.author |
สันติชัย ใจชุ่มชื่น |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:55:15Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:55:15Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7391 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างและตรวจสอบรูปแบบการบริหารนวัตกรรมสู่ ความเป็นเลิศของโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดยมีวิธีดำเนินการวิจัย 2 ขั้นตอน คือ 1) สร้างรูปแบบการบริหารนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนโดยใช้เทคนิคเดลฟาย จากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 17 คน 2) ตรวจสอบรูปแบบการบริหารนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนโดยกลุ่มผู้บริหารและครู ในโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญด้วยการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการบริหารนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนมีองค์ประกอบ 7 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการพัฒนาผู้เรียนโดยมุ่งเน้นผลลัพธ์ มี 50 ประเด็น 2) ด้านการพัฒนาภาวะผู้นำและธรรมาภิบาลของผู้บริหาร มี 45 ประเด็น 3) ด้านการพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากร มี 45 ประเด็น 4) ด้านการพัฒนาหลักสูตร และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มี 45 ประเด็น 5) ด้านการพัฒนาระบบการบริหารจัดการของโรงเรียน มี 45 ประเด็น 6) ด้านการพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เกื้อหนุนต่อการเรียนรู้และนวัตกรรม มี 45 ประเด็น และ 7) ด้านการพัฒนาความร่วมมือกับเครือข่ายในการจัดการศึกษา มี 45 ประเด็นโดยในองค์ประกอบ แต่ละด้านมีกระบวนการบริหารจัดการตามหลักวงจรคุณภาพ 4 ขั้นตอนและ 15 ขั้นย่อย ประกอบด้วย 1) การวางแผน มี 6 ขั้นย่อย 2) การนำกลยุทธ์สู่การปฏิบัติมี 4 ขั้นย่อย 3) การตรวจสอบผลการดำเนินงาน มี 2 ขั้นย่อย และ 4) การแก้ไขพัฒนาระบบ มี 3 ขั้นย่อย รวมทั้งหมด 320 ประเด็น 2. ผลการตรวจสอบรูปแบบการบริหารนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน พบว่า รูปแบบที่สร้างขึ้นมีความเหมาะสมและเป็นไปได้ในการนำไปปฏิบัติและมีขั้นตอนเหมือนกับรูปแบบที่สร้างขึ้นตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา |
|
dc.subject |
นวัตกรรมทางการศึกษา -- การบริหาร |
|
dc.subject |
โรงเรียนเอกชน -- การบริหาร |
|
dc.subject |
วิทยานิพนธ์?aปริญญาเอก |
|
dc.title |
รูปแบบการบริหารนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน |
|
dc.title.alternative |
A model of innovtion mngement for excellence in generl eduction privte school under the office of privte eduction commission |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This study aimed to develop and validate the model of innovation management forexcellence in general education private schools under the Office of Private Education Commission.The method of this study comprised of two steps; 1. Review related literature to identify the conceptual framework, 2. Design the model of innovation management for excellence in general education private schools under the Office of Private Education Commissionusing Delphi Technique to get results from opinions of seventeen experts, and 3. Validate the model of innovation management for excellence in general education private schools under the Office of Private Education Commission using focus group technique. The statistics used for this study were percentage, median and interquartile range. The result were; 1. The model of innovation management for excellence in general education private schools under the Office of Private Education Commission consist of 7 elements: 1.Development of students outcome, with 50issues, 2. Development of administrators’ leadership and good governance, with 45 issues, 3. Development of teachers and staffs, with 45 issues; 4.Development of curriculums and learning activities, with 45 issues, 5. Development of school management, with 45 issues, 6. Development of supporting environment for learning andinnovation, with 45 issues, and 7. Development of academic cooperation network, with 45 issues. Each element consist of 4 steps with 15 sub-steps of Quality Cycle process: 1. Plan, with 6 sub-steps; 2. Do, with4 sub-steps; 3. Check, with 2 sub-steps; and 4. Act, with 3 sub-steps, in total 320 issues. 2. The modelof innovation management for excellence in general education private schools under the Office of Private Education Commissionas validated by school administrators and teachers suggested the same model as it was validated by experts; consist of 7 elements. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
การบริหารการศึกษา |
|
dc.degree.name |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|