DSpace Repository

ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยรูปแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา

Show simple item record

dc.contributor.advisor วิมลรัตน์ จตุรานนท์
dc.contributor.advisor คมสัน ตรีไพบูลย์
dc.contributor.author ศศิธร โมลา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:55:11Z
dc.date.available 2023-05-12T03:55:11Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7367
dc.description วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยรูปแบบ สืบเสาะหาความรู้ 5Es ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา กับ เกณฑ์ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยรูปแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา กับเกณฑ์ 3) เพื่อศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยรูปแบบ สืบเสาะหาความรู้ 5Es ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา 4) เพื่อศึกษาความคงทนใน การเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยรูปแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวังจันทร์วิทยา ปีการศึกษา 2559 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 43 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คำนวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และการทดสอบค่า t ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยรูปแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา สูงกว่า เกณฑ์ ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยรูปแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของ โพลยา สูงกว่า เกณฑ์ ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนมีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์รายด้านโดยรวมอยู่ในระดับมาก 4) นักเรียนมีความคงทนในการเรียนคณิตศาสตร์ผลการทดสอบไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
dc.subject การเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน
dc.subject การแก้ไขปัญหา
dc.subject คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- กิจกรรมการเรียนการสอน
dc.subject ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
dc.subject นักเรียนมัธยมศึกษา -- กิจกรรมการเรียนการสอน
dc.title ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยรูปแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
dc.title.alternative Mthemticl promblem solving bility chievement nd ttitude towrd mthemtics of mthyomsuks i students lerning by inquiry cycle (5es) nd poly’s problem solving process
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were: to compare the mathematical problem solving ability of Mathayomsuksa I students learning by the Inquiry Cycle (5Es) and Polya’s problem solving process with the set criterion, to compare the learning achievement in mathematics of Mathayomsuksa I students learning by the Inquiry Cycle (5Es) and Polya’s problem solving process, to study Mathayomsuksa I students’ attitude towards mathematics after learning with the Inquiry Cycle (5Es) and Polya’s problem solving process, and to study Mathayomsuksa I students’ learning retention after learning with the Inquiry Cycle (5Es) and Polya’s problem solving process. The sample group consisted of 43 Mathayomsuksa I students at Wangchanwittaya School, studying in the second semester of academic year 2016. The collected data were analyzed by percentage, means ( ), standard deviation (SD), and t-test. The findings were as follows: 1) The mathematical problem solving ability of the students learning by the Inquiry Cycle (5Es) and Polya’s problem solving process was higher than the set criterion of 70 percent at the significance level of .01. 2) The achievement in mathematics of the students of all participants learning by the Inquiry Cycle (5Es) and Polya’s problem solving process was higher than the set criterion at the .05 level of significance. 3) The attitude towards mathematics in all aspects were at high level 4) There was no significant difference in learning retention at .05 level of significance
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline หลักสูตรและการสอน
dc.degree.name การศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account