DSpace Repository

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจในการหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนอาชีวศึกษา

Show simple item record

dc.contributor.advisor จิณห์จุฑา ชัยเสนา ดาลลาส
dc.contributor.advisor ชนัดดา แนบเกษร
dc.contributor.author นริฌา สายยืด
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:45:57Z
dc.date.available 2023-05-12T03:45:57Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7343
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การดื่มแอลกอฮอล์ส่งผลกระทบต่อวัยรุ่นทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม การวิจัย ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจในการหลีกเลี่ยงการดื่ม แอลกอฮอล์ กลุ่มตัวอยางคือนักเรียนอาชีวศึกษา จํานวน 120 คน ได้จากการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามเจตคติต่อการดื่มแอลกอฮอล์ แบบสอบถามพฤติกรรมบริโภคสื่อด้วยปัญญา แบบสอบถามอิทธิพลของกลุ่มเพื่อน แบบสอบถาม การมองโลกทางบวกและความตั้งใจในการหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ มีค่าความเชื่อมั่น สัมประสิทธิ 4อัลฟาครอนบาค เท่ากับ .86, .84, .76, .83, และ .78 ตามลําดับ เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน พ.ศ. 2560 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และการหาค่าสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยคะแนนของความตั้งใจในการหลีกเลี่ยงการดื่ม แอลกอฮอล์ เท่ากับ 21.47 (SD = 4.29) ซึ่งจัดอยู่ในระดับสูง ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจในการหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ คือ อิทธิพลของกลุ่มเพื่อนมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (r = .363, p < .001) และพฤติกรรมบริโภคสื่อด้วยปัญญา มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (r = .240, p < .01) จากผลการวิจัย มีข้อเสนอแนะว่า บุคลากรทางด้านสุขภาพ ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวัยรุ่นควรให้ความสําคัญในการใช้อิทธิพลของกลุ่มเพื่อนและพฤติกรรมการบริโภคสื่อด้วยปัญญามาเป็น แนวทางการส่งเสริมความตั้งใจในการหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ในวัยรุ่น
dc.language.iso th
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject นักศึกษา -- การติดสุรา
dc.subject แอล-คาร์นิทีน
dc.subject การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
dc.title ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจในการหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนอาชีวศึกษา
dc.title.alternative Fctors ssocited with intention to lcohol voidnce mong voctionl students
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative Alcohol drinking affects adolescents in terms of their physical, mental, and social aspects. This research aimed to study factors associated with intention to alcohol avoidance among vocational students. There were 120 students who were recruited using stratified random sampling. Data were collected from May to June 2017. The Research instruments included 1) personal information 2) attitudes towards alcohol 3) media consumption behavior with intelligence 4) peer group influence 5) optimism 6) Intention to alcohol avoidance. Their Cronbach, s alpha coefficients were .86, .84, .76, .83, and .78, respectively. Data were analyzed by using descriptive statistic, Pearson’s correlation coefficient. The study results showed that the sample’s mean score of intention to alcohol avoidance was at a high level (M = 21.47, SD = 4.29). The significant factors which significantly and positively correlated with intention to alcohol avoidance among these students were the peer group influence (r = .363, p < .001) and media consumption behavior with intelligence (r = .240, p < .01) These finding suggested that health care providers and those who work with these adolescents should take into account the influence of peer group and media consumption behavior with intelligence in order to promote their intention to alcohol avoidance.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account