DSpace Repository

การสร้างแบบทดสอบความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2

Show simple item record

dc.contributor.advisor เชวง ซ้อนบุญ
dc.contributor.advisor พงศ์เทพ จิระโร
dc.contributor.author ดวงฤทัย โอนประจำ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:45:38Z
dc.date.available 2023-05-12T03:45:38Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7308
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหาคุณภาพของแบบทดสอบความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 และเพื่อสร้างเกณฑ์ปกติ (Norm) กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนช้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 จำนวน 404 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบทดสอบวัดความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ จำนวน 2 ฉบับ ฉบับละ 30 ข้อ มีลักษณะดังนี้ ฉบับที่ 1 เป็นแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก และฉบับที่ 2 เป็นแบบทดสอบต่อเนื่องสองขั้น ตอน ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือกและนำไปหาคุณภาพเครื่องมือได้แก่ ความเที่ยงตรง เชิงเนื้อหาความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างค่าความยากและค่าอำนาจจำแนกและคัดเลือกข้อสอบที่ผ่านเกณฑ์ให้เหลือฉบับละ 20 ข้อ แล้วนำไปหาคุณภาพของแบบทดสอบฉบับจริง ผลการวิจัยพบว่า แบบทดสอบความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 2 ฉบับ ฉบับละ 20 ข้อ ที่ผ่านกระบวนการสร้างขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐาน ได้แก่ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาโดยให้ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้พิจารณาตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมของข้อคำถามว่าตรงตามจุดมุ่งหมายของการวิจัยมีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ .60 ถึง 1.00 ทั้ง 2 ฉบับ ด้านคุณภาพรายข้อ แบบทดสอบฉบับที่ 1 มีค่าความยากตั้งแต่ .30-.72 และค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ .30-.78 แบบทดสอบฉบับที่ 2 มีค่าความยากตั้งแต่ .30-.70 และค่าอำนาจ จำแนกตั้งแต่ .30-.73 ค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตร KR-20 ของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน แบบทดสอบฉบับที่ 1 มีค่าความเชื่อมั่น .87 และแบบทดสอบฉบับที่ 2 มีค่าความเชื่อมั่น .86 เกณฑ์ปกติของแบบทดสอบฉบับที่ 1 มีค่าตั้งแต่ T23 ถึง T80แบบทดสอบฉบับที่ 2 มีค่าตั้งแต่ T26 ถึง T80 และเกณฑ์ปกติรวมของแบบทดสอบความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีค่าตั้งแต่ T23 ถึง T80
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject คณิตศาสตร์ -- แบบทดสอบ (มัธยมศึกษา)
dc.subject คณิตศาสตร์ -- การแก้ปัญหา
dc.subject คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.title การสร้างแบบทดสอบความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2
dc.title.alternative Construction of mthemticl resoning bility test for mtthyomsuks 2 students under ryong primry eductionl service re office
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objectives of this research were to construct and find quality of a mathematics reasoning ability test for Matthayomsuksa 2 students under Rayong Primary Educational Service Area Office 2, and to develop a norms for the test. The population consisted of 404 Matthayomsuksa 2 students of semester 2, academic year 2016, from the schools under Rayong Primary Educational Service Area Office 2. The research instruments were 2 sets one was a mathematical reasoning ability test of 30 items. Test was a multiple-choice test with 4 choices. Test two was a two-step continuous multiple-choice test with 4 choices. Both tests had been examined for their quality before they were used, i.e., content validity, construct validity, difficulty values, and discrimination values. The questions of the tests that met the criteria were selected for20 questions per each test. The findings from the 2 tests of mathematical reasoning ability for Matthayomsuksa 2 students, were that the 20 questions per each test, was designed in compliance with the standard criteria, indicated as follows. In term of content validity, the expert examined the accuracy and appropriatenessof the questions that they were in line with the research objectives. The values of IOC (Index of item-objective congruence) were found to be from .60 to 1.00 in both tests. Regarding item quality (quality of questions), Test 1 showed the difficulty values from .30-.72, and the discrimination values from .30-.78. Test 2 showed the difficulty values from .30-.70, and the discrimination values from .30-.73. The reliability values of both tests were calculated based on KR-20, the formula of Kuder-Richardson. Test 1 was with the reliability value at .87. Test 2 was with the reliability value at .86. The normal criteria of test 1 showed the values from T23to T80. The normal criteria of test 2 showed the values from T26to T80. The total normal criteria showed the values from T23 to T80.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline วิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account